โครงการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด ต.นาโหนด ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด ต.นาโหนด ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-3357-01-002 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เทศบาลตำบลนาโหนด |
วันที่อนุมัติ | 13 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 20 พฤศจิกายน 2567 - 31 มีนาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 17,688.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวิภาดา เต็มยอด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด | 100.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตำบลนาโหนด มีเด็กเล็กอายุ ระหว่าง 2-5 ปี จำนวน 286 คน (ฐานข้อมูลจากระบบสารสนเทศสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง) ซึ่งในปี 2567 มีเด็กเล็กอายุ 2-5 ปี เข้ารับการจัดประสบการณ์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลนาโหนด จำนวน 4 แห่ง รวมทั้งสิ้น 120คน โดยตั้งแต่เดือน มกราคม 2567-ตุลาคม 2567 มีเด็กที่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาาก จำนวน 20 คน โดยเด็กที่ป่วยได้กระจายอยู่ตามศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต่าง ๆ ทั้ง 4 แห่ง ดังนี้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังไทรทอง เด็ก 49 คน ป่วย 7 คน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าวเด็ก26 คน ป่วย 6 คน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด เด็ก 24 คน ป่วย 3 คน
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดหนูรนเอียะสานเด็ก 21 คน ป่วย 4 คน
เมื่อมีเด็กป่วยด้วยโรคมือเท้าปากในแต่ละแห่งเกิน 3 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำเป็นต้องหยุดทำการเรียนการสอน และจะต้องประกาศปิดศูนย์ เพื่อทำความสะอาดพื้นที่ ตามหลักการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข จึงทำให้เด็กเล็กคนอื่น ๆ ที่ไม่ได้ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก จำเป็นต้องหยูดเรียนไปด้วย
จากสภาพปัญหาดังกล่าว เทศบาลตำบลนาโหนด ซึ่งมีหน้าที่ตามมาตรา 50 (4) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 รวมถึงแก้ไขเพิ่มเติมในการการป้องกันและระงับโรคติดต่อจึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด ต.นาโหนด ปี 2568 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ) |
100.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 17,688.00 | 1 | 4,793.00 | |
20 พ.ย. 67 - 31 มี.ค. 68 | กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อมเพื่อลดปัญหาการระบาดของโรค | 0 | 9,720.00 | - | ||
2 - 23 ธ.ค. 67 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้และแนะนำการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กเล็ก และครูในศูนย์เด็กเล็ก | 0 | 7,968.00 | ✔ | 4,793.00 |
ผู้ปกครอง ครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และแนวทางการป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กเล็ก
เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีอุปกรณ์ทำความสะอาดมืออย่างเพียงพอ สามารถป้องกันโรคในเบื้องต้นได้
ห้องเรียน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องเล่นเด็ก ได้รับการทำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรค อย่างม่ำเสมอ สามารถลดการเกิดโรคได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ต.ค. 2567 13:18 น.