โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายบันเทิง ล่องจันทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3018-04-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3018-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 282,324.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนในพื้นที่
ซึ่งตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2567 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนหรือส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
เทศบาลตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้ลงนามความร่วมมือจัดตั้งกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตำบลรูสะมิแล ในการดำเนินงานกองทุนฯ ดังกล่าว คณะกรรมการกองทุนจึงเป็นกลไกหนึ่งที่จะทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนกองทุนให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยการปฏิบัติงานที่ดีมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าของประชาชนในพื้นที่นั้น จำเป็นที่คณะกรรมการกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนชุดต่างๆจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตลอดจนจะต้องเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการจัดทำกิจกรรม หรือพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาด้วยตนเอง การฝึกอบรม หรือการศึกษาดูงานหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแลขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาคณะกรรมการกองทุนฯให้สามารถดำเนินงานต่างๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
- เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
- เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
- เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
- เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าจ้างพนักงานประจำกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี่ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชี กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าอาหารกลางวันคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- วัสดุสำนักงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
50
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงการจัดบริการในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชนได้ง่าย
2.ประชาชนสามารถบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกหล่อในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชนได้
3.มีการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนฯอย่างน้อย ร้อยละ 90
4.มีการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นได้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
3
เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
4
เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
5
เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
6
เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
50
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจ้างพนักงานประจำกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (2) ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (3) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (4) ค่าเบี่ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (5) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (6) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชี กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (8) ค่าอาหารกลางวันคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (9) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (10) วัสดุสำนักงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3018-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายบันเทิง ล่องจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายบันเทิง ล่องจันทร์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3018-04-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3018-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 282,324.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนในพื้นที่
ซึ่งตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2567 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนหรือส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
เทศบาลตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้ลงนามความร่วมมือจัดตั้งกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตำบลรูสะมิแล ในการดำเนินงานกองทุนฯ ดังกล่าว คณะกรรมการกองทุนจึงเป็นกลไกหนึ่งที่จะทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนกองทุนให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยการปฏิบัติงานที่ดีมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าของประชาชนในพื้นที่นั้น จำเป็นที่คณะกรรมการกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนชุดต่างๆจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตลอดจนจะต้องเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการจัดทำกิจกรรม หรือพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาด้วยตนเอง การฝึกอบรม หรือการศึกษาดูงานหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแลขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาคณะกรรมการกองทุนฯให้สามารถดำเนินงานต่างๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
- เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
- เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
- เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
- เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าจ้างพนักงานประจำกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี่ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชี กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- ค่าอาหารกลางวันคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล
- วัสดุสำนักงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 50 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงการจัดบริการในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชนได้ง่าย
2.ประชาชนสามารถบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกหล่อในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชนได้
3.มีการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนฯอย่างน้อย ร้อยละ 90
4.มีการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นได้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % |
|
|||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน) |
|
|||
3 | เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน) |
|
|||
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ) |
|
|||
5 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น |
|
|||
6 | เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 50 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจ้างพนักงานประจำกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (2) ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (3) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (4) ค่าเบี่ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (5) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (6) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชี กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (8) ค่าอาหารกลางวันคณะกรรมการ, อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ, อนุกรรมการ LTC, อนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ, อนุกรรมการการเงินและบัญชี และเจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (9) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล (10) วัสดุสำนักงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3018-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายบันเทิง ล่องจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......