โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา ”
ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศยามล แสงศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย
กุมภาพันธ์ 2568
ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา
ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8404-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,982.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคโลกาภิวัตน์มีปัญหาเกิดขึ้นกับเด็กวัยรุ่นในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านครอบครัว ยาเสพติด การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การทำแท้ง การใช้พฤติกรรมรุนแรงต่างๆ รวมถึงการทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น เป็น ต้น สิ่งเหล่านี้เกิดจากปัจจัยหลายๆด้าน ด้านพฤติกรรมครอบครัวของเด็ก ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย จาก ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อพัฒนาการหลายมิติ ทั้งร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสังคม รวมถึงการใช้ชีวิตในปัจจุบัน เพื่อให้วัยรุ่นได้ตระหนักถึงปัญหาที่ส่งผลกระทบในปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาสารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ ปัญหาจากสื่อโซเชียล และสามารถแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้วัยรุ่นได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวกับปัญหาและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ซึ่งปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นเกิดจากการขาดความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกาย สภาพแวดล้อมใกล้ตัวที่ชักจูงไปในทางไม่ดี และตัวอย่างการใช้ความรุนแรงในสังคมผ่านทางโซเชียลต่างๆ ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาของสังคมในปัจจุบันอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านกายภาพเศรษฐกิจและสังคมเมือง ประกอบกับวัยรุ่นเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเจริญเติบโต มีความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงเห็นว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเร่งแก้ไข หากไม่ได้รับการแก้ไขจะเกิดผลเสียต่อตัวของวัยรุ่นเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติยิ่งขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลน้ำน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ "โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา " ขึ้น เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการเฝ้าระวัง และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สามารถรับมือและจัดการกับปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง
- เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมละลายพฤติกรรม (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย จำนวน 70 คน)
- กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ ในวัยรุ่น สถานการณ์ความเครียดและปัญหาซึมเศร้าในวัยรุ่น สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า
- กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏบัติการเพื่อะพัฒนาวัยรุ่นด้านการเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตในวัยรุ่น กิจกรรมกลุ่ม (Role Play)
- กิจกรรมที่ 4 ซักถามปัญหา สรุปกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการฯมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น เข้าใจถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาที่เกิดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ ปัญหาจากการใช้สื่อโซเชียล และการแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม
- ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้สามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนในการส่งเสริมสุขภาพทางจิตในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทราบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุค ปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศและปัญหาจากสื่อโซเชียล
2
เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความเครียดทุเลาลงหลังการเข้าร่วมโครงการฯ (จากการทำแบบประเมินความเครียด ST-5 ของกรมสุขภาพจิต) ระดับความเครียดอยู่ระหว่าง 0-4
3
เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา
ตัวชี้วัด : มีแกนนำเครือข่าย "คลินิกเพื่อนกัน เพื่อนใจวัยรุ่น" เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เครือข่าย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมละลายพฤติกรรม (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย จำนวน 70 คน) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ ในวัยรุ่น สถานการณ์ความเครียดและปัญหาซึมเศร้าในวัยรุ่น สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏบัติการเพื่อะพัฒนาวัยรุ่นด้านการเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตในวัยรุ่น กิจกรรมกลุ่ม (Role Play) (4) กิจกรรมที่ 4 ซักถามปัญหา สรุปกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวศยามล แสงศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา ”
ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศยามล แสงศรี
กุมภาพันธ์ 2568
ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8404-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,982.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคโลกาภิวัตน์มีปัญหาเกิดขึ้นกับเด็กวัยรุ่นในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านครอบครัว ยาเสพติด การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การทำแท้ง การใช้พฤติกรรมรุนแรงต่างๆ รวมถึงการทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น เป็น ต้น สิ่งเหล่านี้เกิดจากปัจจัยหลายๆด้าน ด้านพฤติกรรมครอบครัวของเด็ก ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย จาก ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อพัฒนาการหลายมิติ ทั้งร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสังคม รวมถึงการใช้ชีวิตในปัจจุบัน เพื่อให้วัยรุ่นได้ตระหนักถึงปัญหาที่ส่งผลกระทบในปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาสารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ ปัญหาจากสื่อโซเชียล และสามารถแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้วัยรุ่นได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวกับปัญหาและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ซึ่งปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นเกิดจากการขาดความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกาย สภาพแวดล้อมใกล้ตัวที่ชักจูงไปในทางไม่ดี และตัวอย่างการใช้ความรุนแรงในสังคมผ่านทางโซเชียลต่างๆ ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาของสังคมในปัจจุบันอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านกายภาพเศรษฐกิจและสังคมเมือง ประกอบกับวัยรุ่นเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเจริญเติบโต มีความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงเห็นว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเร่งแก้ไข หากไม่ได้รับการแก้ไขจะเกิดผลเสียต่อตัวของวัยรุ่นเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติยิ่งขึ้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลน้ำน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ "โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา " ขึ้น เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการเฝ้าระวัง และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สามารถรับมือและจัดการกับปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง
- เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมละลายพฤติกรรม (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย จำนวน 70 คน)
- กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ ในวัยรุ่น สถานการณ์ความเครียดและปัญหาซึมเศร้าในวัยรุ่น สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า
- กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏบัติการเพื่อะพัฒนาวัยรุ่นด้านการเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตในวัยรุ่น กิจกรรมกลุ่ม (Role Play)
- กิจกรรมที่ 4 ซักถามปัญหา สรุปกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการฯมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น เข้าใจถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาที่เกิดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ ปัญหาจากการใช้สื่อโซเชียล และการแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม
- ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้สามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนในการส่งเสริมสุขภาพทางจิตในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทราบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุค ปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศและปัญหาจากสื่อโซเชียล |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความเครียดทุเลาลงหลังการเข้าร่วมโครงการฯ (จากการทำแบบประเมินความเครียด ST-5 ของกรมสุขภาพจิต) ระดับความเครียดอยู่ระหว่าง 0-4 |
|
|||
3 | เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา ตัวชี้วัด : มีแกนนำเครือข่าย "คลินิกเพื่อนกัน เพื่อนใจวัยรุ่น" เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เครือข่าย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมละลายพฤติกรรม (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย จำนวน 70 คน) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ ในวัยรุ่น สถานการณ์ความเครียดและปัญหาซึมเศร้าในวัยรุ่น สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏบัติการเพื่อะพัฒนาวัยรุ่นด้านการเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตในวัยรุ่น กิจกรรมกลุ่ม (Role Play) (4) กิจกรรมที่ 4 ซักถามปัญหา สรุปกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพจิต สร้างสุขด้วยมือเรา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวศยามล แสงศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......