โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัฒนาวดี หลีนิ่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L8008-01-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L8008-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี 2570 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยที่ยังมิได้คำนึงถึงเรื่อง ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูซึ่งสูงขึ้นตามอายุ ซึ่งขณะที่อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแนวคิดไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย หรือ 4 SAMRT ได้แก่ 1. Smart Walk ออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ไม่หกล้ม โดยผู้สูงอายุออกกำลังอายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ 30 นาที 2.) Smart Brain&Emotional ดูแลฝึกทักษะสมอง ส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ รณรงค์ส่งเสริมพฤติการไม่สูบบุหรี่ 3.) Smart Sleep คือ นอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง และ 4.) Smart Eat กินอาหารตามหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ ลดหวาน มัน เค็ม เน้นผัก ผลไม้ เลือกอาหารที่โปรตีนคุณภาพสูง เช่น ปลาทะเล ซึ่งมีโอเมก้า 3 สูง ช่วยบำรุงประสาท สายตา และสมอง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อความสามารถในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ ตลอดจนการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ความรอบรู้สำหรับประชาชน ในศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน มีจำนวนผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2568จำนวน 1,582 คน ผู้สูงอายุแต่ละคนก็จะมีปัญหาสุขภาพในด้านต่างๆ จึงเล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อยเพื่อป้องกันโรคในผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีให้มีสุขภาพแข็งแรง ยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการเข้าสู่ภาวะทุพลภาพออกไปเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้อง ตลอดถึงสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมได้ด้วยซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น สามารถดำเนินชีวิตในบั้นปลายชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขตลอดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องตามช่วงอายุ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การคัดเลือกและค้นหากลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ อายุตั้งแต่ 60-75 ปีขึ้นไป
- อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 Smart และดำเนินการคัดกรอง
- อบรมการส่งเสริมสุขภาพ และติดตามประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 smart
- สรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสภาวะสุขภาพ ค้นหาภาวะเสี่ยงและส่งต่อเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและรับการรักษาอย่างถูกต้อง
2.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และป้องกันภาวะสมองเสื่อม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องตามช่วงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผุู้สูงอายุตามกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
80.00
64.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุตามกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้การดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย)
80.00
64.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องตามช่วงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดเลือกและค้นหากลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ อายุตั้งแต่ 60-75 ปีขึ้นไป (2) อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 Smart และดำเนินการคัดกรอง (3) อบรมการส่งเสริมสุขภาพ และติดตามประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 smart (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L8008-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวพัฒนาวดี หลีนิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัฒนาวดี หลีนิ่ง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L8008-01-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L8008-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี 2570 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยที่ยังมิได้คำนึงถึงเรื่อง ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูซึ่งสูงขึ้นตามอายุ ซึ่งขณะที่อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแนวคิดไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย หรือ 4 SAMRT ได้แก่ 1. Smart Walk ออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ไม่หกล้ม โดยผู้สูงอายุออกกำลังอายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ 30 นาที 2.) Smart Brain&Emotional ดูแลฝึกทักษะสมอง ส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ รณรงค์ส่งเสริมพฤติการไม่สูบบุหรี่ 3.) Smart Sleep คือ นอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง และ 4.) Smart Eat กินอาหารตามหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ ลดหวาน มัน เค็ม เน้นผัก ผลไม้ เลือกอาหารที่โปรตีนคุณภาพสูง เช่น ปลาทะเล ซึ่งมีโอเมก้า 3 สูง ช่วยบำรุงประสาท สายตา และสมอง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อความสามารถในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ ตลอดจนการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ความรอบรู้สำหรับประชาชน ในศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน มีจำนวนผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2568จำนวน 1,582 คน ผู้สูงอายุแต่ละคนก็จะมีปัญหาสุขภาพในด้านต่างๆ จึงเล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อยเพื่อป้องกันโรคในผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีให้มีสุขภาพแข็งแรง ยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการเข้าสู่ภาวะทุพลภาพออกไปเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้อง ตลอดถึงสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมได้ด้วยซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น สามารถดำเนินชีวิตในบั้นปลายชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขตลอดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องตามช่วงอายุ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การคัดเลือกและค้นหากลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ อายุตั้งแต่ 60-75 ปีขึ้นไป
- อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 Smart และดำเนินการคัดกรอง
- อบรมการส่งเสริมสุขภาพ และติดตามประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 smart
- สรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสภาวะสุขภาพ ค้นหาภาวะเสี่ยงและส่งต่อเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและรับการรักษาอย่างถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และป้องกันภาวะสมองเสื่อม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องตามช่วงอายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผุู้สูงอายุตามกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ |
80.00 | 64.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุตามกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้การดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย) |
80.00 | 64.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องตามช่วงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 4 smart (ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดเลือกและค้นหากลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ อายุตั้งแต่ 60-75 ปีขึ้นไป (2) อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 Smart และดำเนินการคัดกรอง (3) อบรมการส่งเสริมสุขภาพ และติดตามประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 4 smart (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ป้องกันการหกล้ม สมองเสื่อม และซึมเศร้า ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L8008-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวพัฒนาวดี หลีนิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......