โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 ”
เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ รามรักษ์ , นางกิ้มพงค์ สัตบุตร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-01 เลขที่ข้อตกลง 29/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง รหัสโครงการ 68-L3312-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพเป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้การดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข การส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีการปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ในสถานการณ์ปัจจุบันพบว่าปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างอาหารที่รับประทานและการออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสม ประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทองส่วนใหญ่มักบริโภคผักและผลไม้น้อย แต่บริโภคน้ำตาลและไขมันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่การออกกำลังกายลดลง โดยเฉพาะในกลุ่ม 15 ปีขึ้นไป (โดยเฉพาะแกนนำสุขภาพ , กลุ่มเสี่ยง อสม.) เมื่อมีการออกกำลังกายน้อยลง จะทำให้ร่างกายอ่อนแอและอาจเกิดโรคไม่ติดต่อตามมา ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวาน,โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด,โรคหัวใจและโรคอ้วนลงพุง ซึ่งผู้ป่วยโรคดังกล่าวมักพบอยู่ในกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่า ผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง จึงก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา ดังนั้นถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็สามารถช่วยลดปัญหาดังกล่าวได้ โดยเฉพาะแกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง หากมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ได้อย่างถูกต้อง ก็จะเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนในชุมชนให้ปฏิบัติตามต่อไป ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทองและประชาชนในเขตรับผิดชอบตระหนักและเห็นความสำคญของการเลือกรับประทานอาหารและออกกำลังกาย โดยเน้น 3อ คือ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี
- การติดตามและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านค
แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอ
80
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มรักสุขภาพในชุมชนมีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี และสามารถนำไปปรับใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน อย่างน้อย 1 กลุ่ม
0.00
1.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 มีความรู้ความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี
50.00
90.00
3
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี
40.00
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
อาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านค
0
แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอ
80
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี (3) การติดตามและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจรูญ รามรักษ์ , นางกิ้มพงค์ สัตบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 ”
เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ รามรักษ์ , นางกิ้มพงค์ สัตบุตร
กันยายน 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-01 เลขที่ข้อตกลง 29/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง รหัสโครงการ 68-L3312-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพเป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้การดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข การส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีการปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ในสถานการณ์ปัจจุบันพบว่าปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างอาหารที่รับประทานและการออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสม ประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทองส่วนใหญ่มักบริโภคผักและผลไม้น้อย แต่บริโภคน้ำตาลและไขมันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่การออกกำลังกายลดลง โดยเฉพาะในกลุ่ม 15 ปีขึ้นไป (โดยเฉพาะแกนนำสุขภาพ , กลุ่มเสี่ยง อสม.) เมื่อมีการออกกำลังกายน้อยลง จะทำให้ร่างกายอ่อนแอและอาจเกิดโรคไม่ติดต่อตามมา ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวาน,โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด,โรคหัวใจและโรคอ้วนลงพุง ซึ่งผู้ป่วยโรคดังกล่าวมักพบอยู่ในกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่า ผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง จึงก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา ดังนั้นถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็สามารถช่วยลดปัญหาดังกล่าวได้ โดยเฉพาะแกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง หากมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ได้อย่างถูกต้อง ก็จะเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนในชุมชนให้ปฏิบัติตามต่อไป ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทองและประชาชนในเขตรับผิดชอบตระหนักและเห็นความสำคญของการเลือกรับประทานอาหารและออกกำลังกาย โดยเน้น 3อ คือ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี
- การติดตามและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านค | ||
แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอ | 80 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มรักสุขภาพในชุมชนมีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี และสามารถนำไปปรับใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน ตัวชี้วัด : เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน อย่างน้อย 1 กลุ่ม |
0.00 | 1.00 |
|
|
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 มีความรู้ความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี |
50.00 | 90.00 |
|
|
3 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี |
40.00 | 60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านค | 0 | ||
แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอ | 80 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลุ่มรักสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี (3) การติดตามและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพดีวิถีใหม่ ลดเสี่ยง ลดโรค เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจรูญ รามรักษ์ , นางกิ้มพงค์ สัตบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......