กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เยี่ยมหลังคลอดผูกสายใยรัก 2568 ”
ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล สวนอินทร์




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เยี่ยมหลังคลอดผูกสายใยรัก 2568

ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เยี่ยมหลังคลอดผูกสายใยรัก 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เยี่ยมหลังคลอดผูกสายใยรัก 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เยี่ยมหลังคลอดผูกสายใยรัก 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 ธันวาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่การดูแลก่อนตั้งครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจสังคมและจิตวิญญาณตามคำกล่าวที่ว่าลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยอย่างมีคุณภาพจากการดำเนินงานตามโครงการฝากครรภ์ เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยในปีที่ ผ่านมา พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจากโรคที่สามารถป้องกัน และดูแลได้หากได้รับการดูแลที่เหมาะสมในเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์การได้รับความรู้เรื่องโภชนาการสามารถส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์และยังสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของแม่ตลอดจนความฉลาดทางสติปัญญา ( IQ ) ของเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มลดลงซึ่งปัจจัยที่เกิดจากปัญหาสุขภาพของแม่ได้แก่ภาวะทุพโภชนาการเช่นขาดไอโอดีนภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์หรือปัจจัยอื่นๆ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน การแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของชุมชนผู้นำศาสนาผู้นำชุมชนตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแกนนำสตรีกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามีผดุงครรภ์โบราณอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ปฏิบัติงานในระดับศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญร่วมกันว่าปัญหาการดูแลหญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับการแก้ไข จากสภาพปัญหางานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งงเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะย้อนหลัง3 ปี (พ.ศ.2565-2567) หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ79.80,89.12 และ 93.44ฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ70.43,86.30 และ 90.00ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 32-34 สัปดาห์ร้อยละ19.00,19.41 และ 15.38โดยเฉพาะปัญหาภาวะซีดที่เป็นภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยประเมินจากการเจาะเลือดวัดระดับค่าฮีมาโตคริตต้องมากว่า 33 %และค่าระดับฮีโมโกลบิลในเลือดต้องมากกว่า12.3g/dlการที่หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับสารอาหารที่มีธาตุ เหล็กวิตามินบี 12 บี6อีซีทองแดงและ โฟเลทที่เพียงพอและเหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงในการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ลูกในครรภ์น้ำหนักน้อย ลูกในครรภ์มีโลหิตจาง หากโลหิตจางมาก อาจทำให้เกิดน้ำคร่ำน้อย ซึ่งทำให้เด็กเสียชีวิตในครรภ์ได้ นอกจากนั้นยังอาจเกิดอันตรายกับมารดาในช่วงคลอด เพราะอาจตกเลือดจนเสียชีวิตได้ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะได้เห็นถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบ เพื่อลูกรักสุขภาพดี เพื่อมุ่งส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ทุกช่วงวัยจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ผูกสายใยรัก ลูกรักพัฒนาการสมวัยรพ.สต.คลองแงะ ปี 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
  3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง
  4. เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดครบตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์
  2. กิจกรรม โรงเรียน พ่อแม่
  3. ติดตามเยี่ยมหลังคลอด
  4. กิจกรรมสรุปและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบ เพื่อลูกรักสุขภาพดี เพื่อมุ่งส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ทุกช่วงวัย
เด็ก 0-5 ปี มีโภชนาการปกติและพัฒนาการสมวัย เด็ก 0-3 ปี มีฟันผุลดน้อยลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
80.00 90.00

 

2 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ทารกคลอดเกิดมีชีพ ไม่มีแม่ตาย
0.00 0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง เพิ่มขึ้น
80.00 90.00

 

4 เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงหลังคลอดที่ได้รับการตวจและเยี่ยมหลังคลอด
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง (4) เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดครบตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์ (2) กิจกรรม โรงเรียน พ่อแม่ (3) ติดตามเยี่ยมหลังคลอด (4) กิจกรรมสรุปและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เยี่ยมหลังคลอดผูกสายใยรัก 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนฤมล สวนอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด