โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 ”
ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว
ธันวาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 ธันวาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียรอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยมีปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ การให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง พื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา เป็นอีกหนึ่งตำบลที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยคิดเป็นร้อยละ 46 มีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำสวน เช่น สวนยาง สวนปาล์ม สวนผลไม้ พื้นที่ทำไร่ทำนา และปลูกพืชผักตลอดทั้งปี ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พบว่าเกษตรกรในตำบลท่าหมอไทรยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ในการใช้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหมอไทร จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลท่าหมอไทร จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดภัย ห่างไกลสารเคมีขึ้น เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งยังได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีให้ถูกต้องและเหมาะสม จากการตรวจหาระดับสารเคมีในเลือดปี 2567 ในกลุ่มเป้าหมาย 44 ราย พบว่าผลมีความเสี่ยง จำนวน 17 คน ผลไม่ปลอดภัย จำนวน 14 คน จากผลการตรวจดังกล่าวทำให้ชมรม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะจึงจัดทำ โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน
- เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และในกลุ่มผู้บริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
- ประชุมแผนงาน
- เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม
- ออกตรวจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านชำประจำปีและให้คำแนะนำ
- สรุปผลดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ร้านขายของชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
2.แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร
3.เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของร้านอาหาร/แผงลอย/ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำและสุขาภิบาลอาหาร
24.00
100.00
2
เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และในกลุ่มผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และกลุ่มผู้บริโภค มีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ
17.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน (2) เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และในกลุ่มผู้บริโภค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (3) ประชุมแผนงาน (4) เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม (5) ออกตรวจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านชำประจำปีและให้คำแนะนำ (6) สรุปผลดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 ”
ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน
ธันวาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 ธันวาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียรอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยมีปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ การให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง พื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา เป็นอีกหนึ่งตำบลที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยคิดเป็นร้อยละ 46 มีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำสวน เช่น สวนยาง สวนปาล์ม สวนผลไม้ พื้นที่ทำไร่ทำนา และปลูกพืชผักตลอดทั้งปี ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พบว่าเกษตรกรในตำบลท่าหมอไทรยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ในการใช้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหมอไทร จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลท่าหมอไทร จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดภัย ห่างไกลสารเคมีขึ้น เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งยังได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีให้ถูกต้องและเหมาะสม จากการตรวจหาระดับสารเคมีในเลือดปี 2567 ในกลุ่มเป้าหมาย 44 ราย พบว่าผลมีความเสี่ยง จำนวน 17 คน ผลไม่ปลอดภัย จำนวน 14 คน จากผลการตรวจดังกล่าวทำให้ชมรม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะจึงจัดทำ โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน
- เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และในกลุ่มผู้บริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
- ประชุมแผนงาน
- เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม
- ออกตรวจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านชำประจำปีและให้คำแนะนำ
- สรุปผลดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ร้านขายของชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว 2.แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร 3.เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของร้านอาหาร/แผงลอย/ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำและสุขาภิบาลอาหาร |
24.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และในกลุ่มผู้บริโภค ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และกลุ่มผู้บริโภค มีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ |
17.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน (2) เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และในกลุ่มผู้บริโภค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (3) ประชุมแผนงาน (4) เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม (5) ออกตรวจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านชำประจำปีและให้คำแนะนำ (6) สรุปผลดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......