โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนัยนา เทวรักษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5174-1-009 เลขที่ข้อตกลง 008/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5174-1-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยในปัจจุบันการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในหลายๆโรคจะปรับเปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของประชาชนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิต และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือขาดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องนอกจากนี้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพกาย การจัดระบบการดูแลเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (Active Aging) มีความรู้ความสามารถและความมั่นคงในชีวิต ที่ผ่านมาทำได้ในระยะสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและผู้พิการ มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแลและผู้ป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาพอที่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ หวังพึ่งพิงจากบุคลากรสาธารณสุขเพียงอย่างเดียว แต่บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่มีไม่เพียงพอต่อการให้บริการ และยังขาดการติดตามดูแลที่บ้านอย่างต่อเนื่อง อนึ่ง ผู้ป่วย ประชาชนในชุมชน ตลอดจนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย และเข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด อีกทั้ง อสม.เป็นเครือข่ายสุขภาพในระดับชุนชน ที่มีความรู้และมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน มีบทบาทหน้าที่กระจายความรู้ทางด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ตามนโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค เพื่อเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพ และการจัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การสร้างองค์ความรู้และมีเครือข่ายสุขภาพระดับชุมชนมีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากในการขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวให้ประสบผลสำเร็จ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขุนตัดหวายจึงได้จัดทำโครงการ “เยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ประจำปีงบประมาณ 2568 ” ขึ้น เพื่อให้ อสม. มีองค์ความรู้และทักษะการเยี่ยมบ้านที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมและต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ
- 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
- 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียงหรือมีปัญหาเร่งด่วน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและการฟื้นฟูสภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ทุกหมู่บ้าน
- ๒. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. พร้อมจัดทีมเยี่ยมบ้านและจัดทำแผนการออกในการตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ และผู้พิการ และจัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินงาน
- เยี่ยมกลุ่มเป้าหมายตามแผนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการ และผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านประเมินสภาพความเป็นอยู่ สภาพสิ่งแวดล้อม และสภาวะเศรษฐกิจในครอบครัวได้รับการดูแลพร้อมทั้งคำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องสำหรับผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลและได้รับการส่งต่อรักษากรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ
ตัวชี้วัด : 1. ลดความพิการและภาวะแทรกซ้อนในผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
920.00
83.00
2
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
ตัวชี้วัด : 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ และผู้พิการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและมีรูปแบบในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เหมาะสมตามบริบทชุมชนเชื่อมโยงกับเวชศาสตร์วิถีชีวิต
47.00
47.00
3
3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียงหรือมีปัญหาเร่งด่วน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและการฟื้นฟูสภาพ
ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่มีปัญหาเร่งด่วนได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูสภาพ
19.00
19.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ (2) 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียงหรือมีปัญหาเร่งด่วน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและการฟื้นฟูสภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ทุกหมู่บ้าน (2) ๒. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. พร้อมจัดทีมเยี่ยมบ้านและจัดทำแผนการออกในการตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ และผู้พิการ และจัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินงาน (3) เยี่ยมกลุ่มเป้าหมายตามแผนการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5174-1-009
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนัยนา เทวรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนัยนา เทวรักษ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5174-1-009 เลขที่ข้อตกลง 008/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5174-1-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยในปัจจุบันการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในหลายๆโรคจะปรับเปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของประชาชนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิต และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือขาดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องนอกจากนี้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพกาย การจัดระบบการดูแลเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (Active Aging) มีความรู้ความสามารถและความมั่นคงในชีวิต ที่ผ่านมาทำได้ในระยะสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและผู้พิการ มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแลและผู้ป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาพอที่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ หวังพึ่งพิงจากบุคลากรสาธารณสุขเพียงอย่างเดียว แต่บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่มีไม่เพียงพอต่อการให้บริการ และยังขาดการติดตามดูแลที่บ้านอย่างต่อเนื่อง อนึ่ง ผู้ป่วย ประชาชนในชุมชน ตลอดจนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย และเข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด อีกทั้ง อสม.เป็นเครือข่ายสุขภาพในระดับชุนชน ที่มีความรู้และมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน มีบทบาทหน้าที่กระจายความรู้ทางด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ตามนโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค เพื่อเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพ และการจัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การสร้างองค์ความรู้และมีเครือข่ายสุขภาพระดับชุมชนมีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากในการขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวให้ประสบผลสำเร็จ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขุนตัดหวายจึงได้จัดทำโครงการ “เยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ประจำปีงบประมาณ 2568 ” ขึ้น เพื่อให้ อสม. มีองค์ความรู้และทักษะการเยี่ยมบ้านที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมและต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ
- 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
- 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียงหรือมีปัญหาเร่งด่วน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและการฟื้นฟูสภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ทุกหมู่บ้าน
- ๒. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. พร้อมจัดทีมเยี่ยมบ้านและจัดทำแผนการออกในการตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ และผู้พิการ และจัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินงาน
- เยี่ยมกลุ่มเป้าหมายตามแผนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการ และผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านประเมินสภาพความเป็นอยู่ สภาพสิ่งแวดล้อม และสภาวะเศรษฐกิจในครอบครัวได้รับการดูแลพร้อมทั้งคำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องสำหรับผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลและได้รับการส่งต่อรักษากรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ ตัวชี้วัด : 1. ลดความพิการและภาวะแทรกซ้อนในผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ |
920.00 | 83.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตัวชี้วัด : 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ และผู้พิการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและมีรูปแบบในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เหมาะสมตามบริบทชุมชนเชื่อมโยงกับเวชศาสตร์วิถีชีวิต |
47.00 | 47.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียงหรือมีปัญหาเร่งด่วน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและการฟื้นฟูสภาพ ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่มีปัญหาเร่งด่วนได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูสภาพ |
19.00 | 19.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้โรคป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ (2) 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียงหรือมีปัญหาเร่งด่วน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและการฟื้นฟูสภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ทุกหมู่บ้าน (2) ๒. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. พร้อมจัดทีมเยี่ยมบ้านและจัดทำแผนการออกในการตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ และผู้พิการ และจัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินงาน (3) เยี่ยมกลุ่มเป้าหมายตามแผนการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5174-1-009
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนัยนา เทวรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......