โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเนาะ ประดู่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68 – L8278 -01-002 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68 – L8278 -01-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,935.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและมะเร็ง กลายเป็นภัย
ระบาดเงียบที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และยังก่อให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนอันตรายต่างๆ ที่สามารถท าลายอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ท าให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอัน
ควร เช่น หัวใจวาย ไตวาย เส้นเลือดในสมองตีบแตก เกิดอัมพาต และประสาทตาเสื่อมมัว โรคเหล่านี้ท าให้ผู้ป่วยเกิด
ความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องอาศัยการรักษา
อย่างต่อเนื่องด้วยการทานยาตลอดชีวิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมหาศาล
จึงท าให้ประเทศต้องมีนโยบายในการป้องกันควบคุมโรคเหล่านี้ โดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงในประชากรไทย
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่นกรรมพันธุ์อายุและปัจจัย
ที่สามารถควบคุมได้เช่น ความอ้วน , ความเครียด , ขาดการออกก าลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูก การดื่มสุรา สูบ
บุหรี่ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าวร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ 35 ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อ
การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจ าเป็นต้องรับประทาน ยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ท าให้
สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หน่วยบริการปฐมภูมิ
โรงพยาบาลบันนังสตา ปีงบประมาณ 2567 พบว่าประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน เป็นกลุ่มเสี่ยง จ านวน
691 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.38 และกลุ่มสงสัยป่วย จ านวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.18 และพบผู้ป่วยด้วย
โรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 1.10 และประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มเสี่ยง จ านวน 435
ราย คิดเป็นร้อยละ 13.07 และกลุ่มสงสัยป่วย จ านวน 419 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.53 และพบผู้ป่วยด้วยโรคความ
ดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 1.23 หากประชาชนในกลุ่มต่างๆ ไม่มีการปฏิบัติตัวที่ดี หรือขาดความรู้ในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม ส่งผลให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มสงสัยป่วยด้วย
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถ ประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของ
ตนเองครอบครัว และชุมชน เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา
ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดท าโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2567
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีรูปแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ดีและเหมาะสม สามารถน าไปใช้ได้จริง ตาม
บริบทชุมชน
- กลุ่มสงสัยป่วย สามารถรับรู้ ตระหนักสภาวะสุขภาพ การจัดการตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความเสี่ยง ร้อยละ 100
2.มีสถานีสุขภาพในชุมชน Health Station ประจ า
หมู่บ้าน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
400
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68 – L8278 -01-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอามีเนาะ ประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเนาะ ประดู่
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68 – L8278 -01-002 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68 – L8278 -01-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,935.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและมะเร็ง กลายเป็นภัย ระบาดเงียบที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และยังก่อให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนอันตรายต่างๆ ที่สามารถท าลายอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ท าให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอัน ควร เช่น หัวใจวาย ไตวาย เส้นเลือดในสมองตีบแตก เกิดอัมพาต และประสาทตาเสื่อมมัว โรคเหล่านี้ท าให้ผู้ป่วยเกิด ความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องอาศัยการรักษา อย่างต่อเนื่องด้วยการทานยาตลอดชีวิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมหาศาล จึงท าให้ประเทศต้องมีนโยบายในการป้องกันควบคุมโรคเหล่านี้ โดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงในประชากรไทย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่นกรรมพันธุ์อายุและปัจจัย ที่สามารถควบคุมได้เช่น ความอ้วน , ความเครียด , ขาดการออกก าลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูก การดื่มสุรา สูบ บุหรี่ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าวร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ 35 ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อ การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจ าเป็นต้องรับประทาน ยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ท าให้ สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา ปีงบประมาณ 2567 พบว่าประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน เป็นกลุ่มเสี่ยง จ านวน 691 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.38 และกลุ่มสงสัยป่วย จ านวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.18 และพบผู้ป่วยด้วย โรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 1.10 และประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มเสี่ยง จ านวน 435 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.07 และกลุ่มสงสัยป่วย จ านวน 419 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.53 และพบผู้ป่วยด้วยโรคความ ดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 1.23 หากประชาชนในกลุ่มต่างๆ ไม่มีการปฏิบัติตัวที่ดี หรือขาดความรู้ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ส่งผลให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มสงสัยป่วยด้วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถ ประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของ ตนเองครอบครัว และชุมชน เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดท าโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2567
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีรูปแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ดีและเหมาะสม สามารถน าไปใช้ได้จริง ตาม บริบทชุมชน
- กลุ่มสงสัยป่วย สามารถรับรู้ ตระหนักสภาวะสุขภาพ การจัดการตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความเสี่ยง ร้อยละ 100 2.มีสถานีสุขภาพในชุมชน Health Station ประจ า หมู่บ้าน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 400 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68 – L8278 -01-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอามีเนาะ ประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......