กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ รำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68 ”
บ้านโคกดีปลี ม.3 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางอุษา เทียมแก้ว




ชื่อโครงการ รำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68

ที่อยู่ บ้านโคกดีปลี ม.3 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3065-2-08 เลขที่ข้อตกลง 12/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"รำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านโคกดีปลี ม.3 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68



บทคัดย่อ

โครงการ " รำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านโคกดีปลี ม.3 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ของอสม.ในพื้นที่ หมูที่ 3 บ้านโคกดีปลี ปี 2567 ได้มีการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายจำนวน 93 คน พบเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 41 คน คิดเเป็นร้อยละ 44.09 โรคเบาหวาน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 13.98 จากข้อมูลดังกล่าวมีแนวโน้มที่โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในพื้นที่อาจจะเพิ่มขึ้น ทางชมรมรำวงย้อนยุค ได้ตระหนัก อยากมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นตามมา พร้อมกันนี้ทางชมรมได้มีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพ ประยุกต์การเต้นรำกับแดนซ์ ได้ร่วมในงานประเพณีต่างๆทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ เป็นที่นิยมของประชาชนในการนำศิลปดังกล่าวมาผสมผสานเพื่่อได้เกิดการเพลิดเพลินในการเคลื่อนไหว การขยับกาย นอกจากความสนุกที่ได้เต้นตามจังหวะเสียงเพลง"รำวงย้อนยุค"กิจกรรมดังกล่าวได้ลดความเหงาและความเครียด กิจกรรมรำวงย้อนยุคมารื้อฟื้นอีกครั้ง ที่สำคัญไม่ควรเต้นนานเกิน 30 นาที โดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็นโรคเข่าเสื่อม รำวงย้อนยุคเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงวัย และบุคคลทั่วไปได้ออกกำลังกาย มีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น ในการนี้ชมรมรำวงย้อนยุค บ้านโคกดีปลี ได้ทำโครงการรำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68 เพื่อเป็นการจัดกิจกรรมผ่อนคลาย และเคลื่อนไหวกาย เพื่อการเผาผลาญน้ำตาล ไขมันส่วนเกินที่มีอยู่ในร่างกาย อันเป็นสาเหตุที่ทำให้เป็นโรคโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานหรือโรคเรื้อรังต่างๆ ของสมาชิกในชมรมและประชาชนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรมได้มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขับเคลื่อนการดำเนินงาน
  2. เฝ้าระวังโรค
  3. ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  4. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
  5. ประเมินผลการดำเนินงาน
  6. คนต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อเป็นการอนุรักษ์กิจกรรมรำวงย้อนยุคบูรณาการร่วมกับกิจกรรมทางกายอื่นๆ 2.เพื่อให้คนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมสร้างความสามัคคี 3.เพื่อให้คนในพื้นที่และบริเวณใกล้เคียงมีความเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง 4.เพื่อให้lสมาชิกชมรมได้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องหลังว่างจาก ได้อย่างถูกวิธี ป่องกันโรคความดัน / เบาหวาน 5.เพื่อให้คนในพื้นที่ และบริเวณใกล้เคียงดำรงชีวิตในสังคมอย่างสงบสุข 6. มีคนต้นแบบด้านสุขภาพปลอดจากโรคเรื้อรัง ความดัน/เบาหวาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในพื้นที่ลดลงเทียบจากปีที่ผ่านมา
100.00 0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรมได้มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมมีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละไม่น้อยกว่า 30 นาที
0.00 0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ชมรมมีกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทุกปี
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรมได้มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขับเคลื่อนการดำเนินงาน (2) เฝ้าระวังโรค (3) ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (4) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (5) ประเมินผลการดำเนินงาน (6) คนต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รำวงย้อนยุค สร้างจิต สร้างกาย บ้านโคกดีปลี ปี 68 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3065-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุษา เทียมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด