โครงการ ให้ความรู้ เฝ้าระวังและเตรียมพร้อมการระบาดโรคหัดและให้ความรู้โรคเมลิออยโดสิส ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ ให้ความรู้ เฝ้าระวังและเตรียมพร้อมการระบาดโรคหัดและให้ความรู้โรคเมลิออยโดสิส ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L2504-01-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลระแงะ (งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและระบาดวิทยา) |
วันที่อนุมัติ | 6 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 11 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 26,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมูฮัมหมัดมัรยาน ลาเต๊ะบือริง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันคำว่าระบาดวิทยาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในวงการกระทรวงสาธารณสุขของประเทศไทย เวลาได้ยินคนพูดถึงระบาดวิทยาจะมีสองนัยคือนัยของความเป็นศาสตร์หรือวิธีการที่จะใช้ศึกษาแก้ปัญหาสุขภาพ เช่นต้องทำระบาดวิทยาให้เข้มแข็งถึงจะควบคุมโรคระบาดต่างๆได้และนัยขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโรคภัยต่างๆเช่นระบาดวิทยาของโรคติดต่อทางเดินหายใจในประเทศไทยก็จะเป็นการบรรยายว่าโรคนี้เกิดจากอะไร เป็นกับใครเป็นส่วนใหญ่ ที่ใด ฤดูกาลใด มีแนวโน้มเป็นอย่างไร ติดต่ออย่างไร ควบคุมได้อย่างไร ฯลฯ คนที่จะต้องทำงานส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค รวมถึงรักษาผู้ป่วย หากรู้เรื่องระบาดวิทยาก็จะมีหลักวิชาการที่ดีในการทำงาน ระบาดวิทยาเน้นการปกป้องให้กลุ่มประชากรมีสุขภาพดีมิให้เจ็บป่วย เมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นก็พยายามป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดในวงกว้าง จัดการให้การระบาดสงบลงอย่างรวดเร็ว และเกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและความสงบสุขของสังคมให้น้อยที่สุด โครงการให้ความรู้ เฝ้าระวังและเตรียมพร้อมการระบาดโรคหัดและให้ความรู้โรคเมลิออยโดสิส ปีงบประมาณ 2568 พบว่าปี 2567 มีการระบาดโรคหัดในพื้นที่จำนวน 68 ราย และมีการเสียชีวิตจากโรคเมลิออยด์โดสิสจำนวน 1 ราย และสถานการณ์การเกิดการระบาดของโรคติดต่อ เป็นโครงการเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคในประชากร โรงพยาบาลระแงะ ได้เห็นประโยชน์และความสำคัญในจุดนี้ ดังนั้นการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชนในเรื่องโครงการให้ความรู้ เฝ้าระวังและเตรียมพร้อมการระบาดโรคหัดและให้ความรู้โรคเมลิออยโดสิส ปีงบประมาณ 2568การเกิดการระบาดของโรคติดต่อ เป็นการเตรียมตัวรับมือเมื่อเกิดโรคตามฤดูกาล รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิบัติตัวหากมีการระบาดของโรคต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคหัดและโรคเมลิออยโดสิสได้อย่างถูก ต้องและมีประสิทธิภาพ ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดต่อโรคหัดและโรคเมลิออยโดสิสได้อย่างถูก ร้อยละ 90 |
0.00 | |
2 | เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและรับมือการระบาดโรคหัดและการระบาดโรคเมลิออยโดสิส ประชาชนได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน ให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเอง ร้อยละ 100 |
0.00 | |
3 | เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อ ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคติดต่อทางระบาดวิทยาเท่ากับ 0 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 26,300.00 | 0 | 0.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 0 | 26,300.00 | - |
- เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน ให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเอง
- เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2567 00:00 น.