โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปรียานุช หลังปุเต๊ะ กรรมการกลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-12 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2567 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2567 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้สุขภาพเป็นเรื่องสำคัญที่เราทุกคนต้องดูแลไม่ว่าสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต ยิ่งโรคอ้วนลงพุง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญเกิดขึ้นในประชากรทั่วไปอย่างรวดเร็วและกำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก โรคอ้วนลงพุง เป็นกลุ่มอาการของความผิดปกติที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจและเกิดภาวะแทรกซ้อนที่่มีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นเป้าหมายในการดูแลรักษาคือการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ การแก้ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้แก่โรคอ้วนและภาวะดื้ออินซูลินโดยการป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง ควบคุมเบาหวาน การลดน้ำหนักตัวและที่สำคัญควบคุมระดับไขมันในเลือดด้วยการลดไตรกลีเซอร์ไรด์ แอล-ดี-แอล โคเลสเตอรอล และเพิ่มเอช-ดี-แอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต การออกกำลังกายเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการหดคลายของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
กลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมานจึงเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย จึงได้จัดทำโครงการ ลดพุงลดโรคบ้านทุ่งวิมานขึ้น เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคและลดความรุนแรงของโรคให้กับผู้ที่สนใจการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ให้มีการดูแลสุขภาพของตนเองที่ดียิ่งขึ้น เป็นการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ที่สามารถลดภาวะเสี่ยงของโรคต่างๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และเพื่อเชิญชวนให้ประชาชนในบ้านทุ่งวิมานมาร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกาย
- กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
- กิจกรรมประชุมติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์
2.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกาย
วันที่ 1 มีนาคม 2568 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.กิจกรรมการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 5 วัน ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที ตามความถนัดของกลุ่มเป้าหมาย เช่น การเดิน-วิ่ง และเต้นแอโรบิค
2. ขยายกลุ่มเป้าหมายไปยังประชาชนคนอื่น ๆ ในตำบลบ้านควน ให้เข้าร่วมจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัยและสุขภาพตนเอง
0
0
2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ 1 ครั้ง ระยะเวลาจัดกิจกรรม 1 วัน
2.ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้คำปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 3 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์
0
0
3. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
วันที่ 17 พฤษภาคม 2568 เวลา 16:30 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ เชิญชวนประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม
1.พูดคุยเสียงตามสายประจำหมู่บ้านทุกๆ เย็นวันศุกร์
2.ประชาสัมพันธ์ตามตลาดนัดในหมู่บ้าน ในช่วงเทศกาลต่างๆ
3.ติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนบ้านทุ่งวิมานร่วมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีการรับรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์
40.00
100.00
2
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75
0.00
75.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ (2) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) กิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกาย (3) กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ (4) กิจกรรมประชุมติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปรียานุช หลังปุเต๊ะ กรรมการกลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปรียานุช หลังปุเต๊ะ กรรมการกลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-12 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2567 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2567 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้สุขภาพเป็นเรื่องสำคัญที่เราทุกคนต้องดูแลไม่ว่าสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต ยิ่งโรคอ้วนลงพุง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญเกิดขึ้นในประชากรทั่วไปอย่างรวดเร็วและกำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก โรคอ้วนลงพุง เป็นกลุ่มอาการของความผิดปกติที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจและเกิดภาวะแทรกซ้อนที่่มีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นเป้าหมายในการดูแลรักษาคือการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ การแก้ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้แก่โรคอ้วนและภาวะดื้ออินซูลินโดยการป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง ควบคุมเบาหวาน การลดน้ำหนักตัวและที่สำคัญควบคุมระดับไขมันในเลือดด้วยการลดไตรกลีเซอร์ไรด์ แอล-ดี-แอล โคเลสเตอรอล และเพิ่มเอช-ดี-แอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต การออกกำลังกายเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการหดคลายของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
กลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมานจึงเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย จึงได้จัดทำโครงการ ลดพุงลดโรคบ้านทุ่งวิมานขึ้น เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคและลดความรุนแรงของโรคให้กับผู้ที่สนใจการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ให้มีการดูแลสุขภาพของตนเองที่ดียิ่งขึ้น เป็นการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ที่สามารถลดภาวะเสี่ยงของโรคต่างๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และเพื่อเชิญชวนให้ประชาชนในบ้านทุ่งวิมานมาร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกาย
- กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
- กิจกรรมประชุมติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกาย |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2568 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.กิจกรรมการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 5 วัน ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที ตามความถนัดของกลุ่มเป้าหมาย เช่น การเดิน-วิ่ง และเต้นแอโรบิค 2. ขยายกลุ่มเป้าหมายไปยังประชาชนคนอื่น ๆ ในตำบลบ้านควน ให้เข้าร่วมจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนทุกกลุ่มวัยมีการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัยและสุขภาพตนเอง
|
0 | 0 |
2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ 1 ครั้ง ระยะเวลาจัดกิจกรรม 1 วัน 2.ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้คำปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 3 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2568 เวลา 16:30 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ เชิญชวนประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม 1.พูดคุยเสียงตามสายประจำหมู่บ้านทุกๆ เย็นวันศุกร์ 2.ประชาสัมพันธ์ตามตลาดนัดในหมู่บ้าน ในช่วงเทศกาลต่างๆ 3.ติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่างๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนบ้านทุ่งวิมานร่วมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีการรับรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ |
40.00 | 100.00 |
|
|
2 | ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 |
0.00 | 75.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ (2) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) กิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกาย (3) กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ (4) กิจกรรมประชุมติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปรียานุช หลังปุเต๊ะ กรรมการกลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......