โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเฝ้าระวังติดตามกลุ่มเสี่ยงNCD ชุมชนปานชูรำลึก
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเฝ้าระวังติดตามกลุ่มเสี่ยงNCD ชุมชนปานชูรำลึก |
รหัสโครงการ | 68-L8008-02-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม.ชุมชนปานชูรำลึก |
วันที่อนุมัติ | 10 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 21,488.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางผกาพรรณ จุนฉีด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 เม.ย. 2568 | 31 ส.ค. 2568 | 21,488.00 | |||
รวมงบประมาณ | 21,488.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนประชาชนที่ได้รับการคัดกรองและพบความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (คน) | 20.00 | ||
2 | จำนวนประชาชนที่ได้รับการคัดกรองและพบความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (คน) | 20.00 | ||
3 | อสม.ชุมชนปานชูรำลึกที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (คน) | 10.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานเป็นโรคติดต่อเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวานแต่ความชุกและอุบัติการณ์กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งในชุมชนเมืองและในชนบท อีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานนั้นถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจ หรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำติดเชื้อง่ายหลอดเลือดตีบหรือแตกในสมองทำให้เป็นอัมพาตได้ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานมีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัวคือจะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆการรักษาพยาบาลรวมทั้งสูญเสียอวัยวะและความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มากกว่าคนปกติรวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วยนอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพซึ่งทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ เนื่องจากการทำงานของอสม.ในชุมชนกับประชากรที่อสม.รับผิดชอบในชุมชนเป็นกลุ่มเสี่ยง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง |
40.00 | 40.00 |
2 | เพื่อให้ อสม ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง |
10.00 | 10.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 21,488.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 เม.ย. 68 | อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป | 0 | 20,988.00 | - | ||
1 - 30 มิ.ย. 68 | ติดตามคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2 | 0 | 0.00 | - | ||
1 - 31 ส.ค. 68 | ติดตามคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 3 | 0 | 500.00 | - |
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง
2.ประชาชนสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงได้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 พ.ย. 2567 00:00 น.