กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ห่างไกลโรค NCD โดย อสม.รพ.สต.บ้านลำชิง ปี 2568 ”
ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ห่างไกลโรค NCD โดย อสม.รพ.สต.บ้านลำชิง ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5196-02-07 เลขที่ข้อตกลง 08/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ห่างไกลโรค NCD โดย อสม.รพ.สต.บ้านลำชิง ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ห่างไกลโรค NCD โดย อสม.รพ.สต.บ้านลำชิง ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ห่างไกลโรค NCD โดย อสม.รพ.สต.บ้านลำชิง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5196-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนจึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบการทำงานบริโภคอาหารไม่คำนึ่งคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยขาดการออกกำลังกายเครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคทีมีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม โดยผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำชิง ประจำปีงบประมาณ๒๕๖๘ มีกลุ่มเป้าหมายการคัดกรองทั้งหมด จำนวน 2,145 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 908 คน พบกลุ่มเสี่ยง 243 คน กลุ่มสงสัยป่วย 77 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน 1,128 คน พบกลุ่มเสี่ยง 202 คน กลุ่มสงสัยป่วย 16 คน
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่า กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำชิง มีแนวโน้มกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปี กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำชิงจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชน จึงได้ทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขกาย สุขใจ ห่างไกลโรค ประจำปี 2568 ขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ มีการเฝ้าระวัง จัดการสุขภาพของตนเอง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมเพื่อป้องการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต ตลอดจนป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการสุขภาพของตนเอง
  4. เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. รณรงค์สร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
  3. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย โดยอสม.ที่รับผิดชอบ ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง
  4. บุคคลต้นแบบสุขภาพดี ห่างไกลโรค ์NCD

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
2.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดระดับความดันลดลง 3.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง 5.เกิดบุคคลต้นแบบสุขภาพดี ห่างไกลโรคในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้น
40.00 40.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตลดลง
40.00 20.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการสุขภาพของตนเองมากยิ่งขึ้น
40.00 40.00

 

4 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายเกิดเป็นบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
40.00 8.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการสุขภาพของตนเอง (4) เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) รณรงค์สร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน (3) ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย โดยอสม.ที่รับผิดชอบ ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง (4) บุคคลต้นแบบสุขภาพดี ห่างไกลโรค ์NCD

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ห่างไกลโรค NCD โดย อสม.รพ.สต.บ้านลำชิง ปี 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5196-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด