กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแหน


“ โครงการลำดวนบานสานพลัง ”

ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา

ชื่อโครงการ โครงการลำดวนบานสานพลัง

ที่อยู่ ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทรา

รหัสโครงการ 1/61 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลำดวนบานสานพลัง จังหวัดฉะเชิงเทรา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแหน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลำดวนบานสานพลัง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและการออกกำลังกาย (2) ส่งเสริมการออกกำลังกายหลากหลายรูปแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...เพิ่มกิจกรรมทางกายให้หลากหลายเช่น ชมรมจักรยาน การเล่นก๊ฬาเปตอง 2.เพิ่มเครือข่ายกลุ่มออกกำลังกายให้เพิ่มขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหา สุขภาพของผู้สูงอายุมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สูงอายุต้อง  ได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพหลายๆด้านเพื่อเตรียมความพร้อมในการดูแลตนเอง ในครอบครัวและผู้สูงอายุด้วยกัน ในชุมชนหรือหมู่บ้านเมื่อถึงวัย การสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเป็นวิธีที่สร้างการมีส่วนร่วมในการรวมกลุ่มได้เป็นอย่างดีเนื่องจากผู้สูงอายุได้นำสิ่งดีที่ตนเองมีมาเล่าสู่เพื่อนผู้สูงอายุด้วยกัน สร้างความภาคภูมิใจและมีคุณค่าในตนเองขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแหน มีพื้นที่รับผิดชอบ 15 หมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด 10,344 คน ชาย จำนวน 4,972 คน หญิง จำนวน 5,372  คน ผู้สูงอายุ จำนวน 1,652 คน คิดเป็น ร้อยละ15.97 ของประชากร มีสถานีอนามัย จำนวน 2 แห่ง บุคลากรสาธารณสุข จำนวน 7 คน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข
1 ชมรม มีสมาชิก จำนวน 200 คน ชมรมผู้สูงอายุ 1 ชมรม มีสมาชิก 1,400 คน คิดเป็น ร้อยละ 85 ของผู้สูงอายุ  ในจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด จำแนกตามสภาพร่างกายได้ 3 กลุ่มด้วยกัน คือ กลุ่มสุขภาพแข็งแรงไม่มีโรคประจำตัว กลุ่มสุขภาพแข็งแรงมีโรคประจำตัว และกลุ่มสุขภาพไม่แข็งแรงหรือมีโรคประจำตัว โรคประจำตัวที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน 856 คน คิดเป็นร้อยละ 51.82 ของผู้สูงอายุ ตำบลหนองแหนมีชมรมผู้สูงอายุ ที่รวมกลุ่มกันอย่างกระจัดกระจายมีกิจกรรมเป็นครั้งคราวได้ดำเนินการเป็นรูปธรรมและมีกิจกรรมที่ต่อเนื่องเมื่อเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2549 มีการขยายแกนนำผู้สูงอายุครบทุกหมู่บ้านในปี 2551 ทำให้ชมรมมีสมาชิกผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น จำนวน 1,140 คน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ เรื่องอาชีพเสริมซึ่งเป็นงานอดิเรกที่สร้างความเพลิดเพลิน รวมทั้งมีการเยี่ยมเยียนสมาชิกชมรมที่เจ็บป่วย เดือนละ 1 ครั้ง มีการช่วยเหลือจากชมรมหากสมาชิกผู้สูงอายุเสียชีวิต  จากการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุในรอบปีที่ผ่านมา พบว่า ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกของชมรมส่วนใหญ่อยู่บ้านซึ่งมีสมาชิกภายในครอบครัว 2-4 คน ซึ่งเป็นวัยแรงงานและทำงานนอกบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุดังกล่าวขาดคนดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น ขาดเพื่อนพูดคุยในช่วงเวลากลางวัน ชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองแหนเห็นความสำคัญของการมีเพื่อนได้พูดคุยเล่าเรื่องต่างๆในครอบครัวตลอดจนความต้องการที่สามารถช่วยเหลือได้ จึงได้จัดทำโครงการลำดวนบานสานพลังขึ้นโดยให้ผู้สูงอายุที่สุขภาพแข็งแรงหรือเยาวชน มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุที่อ่อนแอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  3. เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและการออกกำลังกาย
  2. ส่งเสริมการออกกำลังกายหลากหลายรูปแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการเล่นกีฬา 2ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายต่อเนื่องทำให้สุขภาพแข็งแรงล 3.ลดภาวะแทรกซ้อนของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมการออกกำลังกายหลากหลายรูปแบบ

วันที่ 21 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายตามความสมัครใจและถนัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายตามความสนใจ

 

200 0

2. ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและการออกกำลังกาย

วันที่ 22 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายตามกลุ่มเป้าหมายและสนใจ  รวมถึงกิจกรรมทางกายตามความสนใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้และเข้าร่วมการมีกิจกรรมทางกาย

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
70.00 78.00 8.40

ผู้สูงอายุอายุ 65 ปีทั้งหมด 1123 คนเข้าร่วกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 95 คนคิดเป็นร้อยละ 8.45

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
60.00 78.00 17.80

 

3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
75.00 85.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและการออกกำลังกาย (2) ส่งเสริมการออกกำลังกายหลากหลายรูปแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...เพิ่มกิจกรรมทางกายให้หลากหลายเช่น ชมรมจักรยาน การเล่นก๊ฬาเปตอง 2.เพิ่มเครือข่ายกลุ่มออกกำลังกายให้เพิ่มขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการลำดวนบานสานพลัง

รหัสโครงการ 1/61 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

สถานที่ออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

มีชมรมออกกำลังกายต่อเนื่อง ที่รพ.สต หนองแหนและศูนย์เด็กเล็กบ้านโคก

ขยายเครือข่ายให้เพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง

ร่วมกิจกรรม จันทร์ พุธ ศุกร์

ปรับเปลี่ยนด้านอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง

มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง

มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ทำให้อารมณดีไม่เครียด

หน้าตาย้ิมแย้ม

จัดการด้านอารมร์ให้มีสมาธิ สติเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ร่วมออกกำลังกายสัปดาห์ลละ3 วัน

วันจันทร์ พุธ ศุกร์ ผู้สูงอายุมาออกกำลังกาย

พัฒนากิจกรรมการรวมกลุ่มอาชีพเสริม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการลำดวนบานสานพลัง จังหวัด ฉะเชิงเทรา

รหัสโครงการ 1/61

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด