โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 ”
ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางฟาตีเม๊าะ เจ๊ะสะตำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกโพธิ์
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8282-02-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L8282-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตายและการป่วยเป็นโรคไข้เลือด ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน และสังคมตามลำดับ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก ในปัจจุบันสามารถพบได้ทุกกลุ่มอายุ ซึ่งการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยบ้านและชุมชนดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันประกอบกับตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ อปท.ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในรัดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 ข้อ 7 กำหนดโครงการนี้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 7 (7.1,7.1.5) เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการป้องกันโรคให้แก่ประชาชนทั่วไปอย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอโคกโพธิ์ปี 2565 จำนวน 8 ราย ปี 2566 จำนวน 22 ราย ปี 2567 จำนวน 20 ราย รวมผู้ป่วยไข้เลือดออกรวม 50 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 426.00 ต่อแสนประชากร ซึ่งถ้าคิดเป็นอัตราป่วยแล้ว ถือว่ายังสูงกว่าเกณฑ์ของประเทศ (เกณฑ์ = ไม่เกิน 24.10 ต่อแสนประชากร) ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขเร่งด่วนที่ต้องแก้ไขในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์และเขตตำบลใกล้เคียงมีผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 1 ราย ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.โคกโพธิ์ (เขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์)ได้เล็งเห็นถึงอันตราย และความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกที่สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก และสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโรคโดยแมลง
- เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและมีความตระหรักร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์ หรือไม่มีผู้ป่วย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออก
- รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลโคกโพธิ์มีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคนำโดยแมลง
2.ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์มีความตระหนัก และร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
3.ประชาชนในเขตเทศบาลมีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
4.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลลดลง หรือไม่มีผู้ป่วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก และสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโรคโดยแมลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีความตระหนัก และร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
70.00
80.00
2
เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและมีความตระหรักร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตเทศบาลบาลโคกโพธิ์ มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน
70.00
80.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์ หรือไม่มีผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ไข้เลือดออกลดลง มีค่ามัธยฐานไม่เกิน 20 ต่อค่ามัธยฐานไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิดซำ้หรือมีเจนเนอร์เรชั่น 2 เกิดขึ้น
70.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก และสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโรคโดยแมลง (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและมีความตระหรักร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์ หรือไม่มีผู้ป่วย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออก (2) รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8282-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฟาตีเม๊าะ เจ๊ะสะตำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 ”
ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางฟาตีเม๊าะ เจ๊ะสะตำ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8282-02-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L8282-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตายและการป่วยเป็นโรคไข้เลือด ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน และสังคมตามลำดับ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก ในปัจจุบันสามารถพบได้ทุกกลุ่มอายุ ซึ่งการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยบ้านและชุมชนดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันประกอบกับตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ อปท.ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในรัดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 ข้อ 7 กำหนดโครงการนี้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 7 (7.1,7.1.5) เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการป้องกันโรคให้แก่ประชาชนทั่วไปอย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอโคกโพธิ์ปี 2565 จำนวน 8 ราย ปี 2566 จำนวน 22 ราย ปี 2567 จำนวน 20 ราย รวมผู้ป่วยไข้เลือดออกรวม 50 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 426.00 ต่อแสนประชากร ซึ่งถ้าคิดเป็นอัตราป่วยแล้ว ถือว่ายังสูงกว่าเกณฑ์ของประเทศ (เกณฑ์ = ไม่เกิน 24.10 ต่อแสนประชากร) ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขเร่งด่วนที่ต้องแก้ไขในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์และเขตตำบลใกล้เคียงมีผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 1 ราย ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.โคกโพธิ์ (เขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์)ได้เล็งเห็นถึงอันตราย และความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกที่สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก และสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโรคโดยแมลง
- เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและมีความตระหรักร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์ หรือไม่มีผู้ป่วย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออก
- รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลโคกโพธิ์มีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคนำโดยแมลง 2.ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์มีความตระหนัก และร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนในเขตเทศบาลมีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน 4.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลลดลง หรือไม่มีผู้ป่วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก และสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโรคโดยแมลง ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีความตระหนัก และร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
70.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและมีความตระหรักร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตเทศบาลบาลโคกโพธิ์ มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน |
70.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์ หรือไม่มีผู้ป่วย ตัวชี้วัด : ไข้เลือดออกลดลง มีค่ามัธยฐานไม่เกิน 20 ต่อค่ามัธยฐานไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิดซำ้หรือมีเจนเนอร์เรชั่น 2 เกิดขึ้น |
70.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก และสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโรคโดยแมลง (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและมีความตระหรักร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนช่วยกันควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลโคกโพธิ์ หรือไม่มีผู้ป่วย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออก (2) รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยชุมชน/บ้านสัมพันธ์ เทศบาลโคกโพธิ์ ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8282-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฟาตีเม๊าะ เจ๊ะสะตำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......