โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางโสภา ก่อสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร
มกราคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,049.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นโรคที่สำคัญมาก และยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ตามรายงานระบุว่าผู้ใหญ่ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเพียง ร้อยละ 54 เท่านั้นที่ได้รับการวินิจฉัย ร้อยละ 42 ได้รับการรักษา และเพียง ร้อยละ 21 เท่านั้นที่สามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ โดยจะตรวจพบได้จากการวัดความดันโลหิต เป้าหมายระดับโลกประการหนึ่งสำหรับโรคไม่ติดต่อคือการลดอัตราการเกิดความดันโลหิตสูงลง ร้อยละ 33 ระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2573 (Kazuomi Kario et al., 2024) โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก พบว่า ในกลุ่มประชากร อายุ 30-79 ปี มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1.3 พันล้านคน มักไม่แสดงอาการในระยะเริ่มต้นแต่สามารถตรวจวินิจฉัยได้ และยังพบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยง ที่ก่อให้เกิดโรคอื่น ๆ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (กรมควบคุมโรค, 2562)
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยจากระบบรายงานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข ภาพรวมของประเทศ ปี 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากถึง 14 ล้านคน ขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 7 ล้านคน และผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ มีจำนวนมากถึง 2.8 ล้านคน (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566) ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้ ในระยะยาวจะส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด และโรคไตวายเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้ (กรมควบคุมโรค, 2562)
ข้อมูลจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 ปี 2562-2563 ในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยสถาบันระบบสาธารณสุข (สวรส.) พบว่า ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีร้อยละ 25.4 ผู้ชาย ร้อยละ 26.7 และผู้หญิงร้อยละ 24.2 ความชุกของโรคต่ำสุดในกลุ่มอายุ 15 - 29 ปี (ร้อยละ 3.3) จากนั้นเพิ่มขึ้นตามอายุและสูงสุดในกลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไป เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสำรวจ ฯ ครั้งที่ 5 ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในปี 2562-2563 นี้สูงกว่าปี 2557 ซึ่งพบความชุกร้อยละ 24.7 (ชาย ร้อยละ 25.6 และหญิง ร้อยละ 23.9) แต่การเข้าถึงระบบบริการยังไม่ดีขึ้น โดยในจำนวนคนที่เป็นความดันโลหิตสูงนั้น สัดส่วนของผู้ที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงเพิ่มจากร้อยละ 44.7 เป็นร้อยละ 48.8 สัดส่วนที่ได้รับการรักษาแต่ควบคุมไม่ได้ตามเกณฑ์เพิ่มจากร้อยละ 20.1 เป็น 25.0 และสัดส่วนของผู้ที่สามารถคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ลดลงจากร้อยละ 29.7 เป็น 22.6 ตามลำดับ
รายงานผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดตรัง พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 82,719 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 33,456 คน คิดเป็นร้อยละ 40.45 ซึ่งอำเภอรัษฎามีจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 3,759 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 1,455 คน คิดเป็นร้อยละ 38.71 และตำบลเขาไพรมีจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 287 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 31.01 (HDC, 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2567) จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง พบว่า ประชาชนกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงใน หมู่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ทั้งหมด 33 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 51.52 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร, 2567) ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (กระทรวงสาธารณสุข ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60) และหลังจากการร่วมกันจัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้านของประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อค้นหาปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน พบว่า ปัญหาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ เป็นปัญหาที่ชุมชนต้องการแก้ไขมากที่สุด จากการโยงใยสาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี โดยได้สร้างแบบสอบถาม พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จำเป็นต้องเน้นไปที่การให้ความรู้ในเรื่องของการควบคุมระดับความดันโลหิต และเน้นส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรจัดทำโครงการ การส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติให้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม และสามารถลดค่าระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
- เพื่อเปรียบเทียบค่าระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรม“การอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้’’
- กิจกรรม “ออกกำลังกายวันละนิด พิชิดความดัน”
- กิจกรรม “เค็มพอดี สุขภาพดีตลอดกาล”
- กิจกรรม “เยี่ยมบ้าน ติดตาม ดูแลพฤติกรรมสุขภาพ”
- กิจกรรม “แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากบุคคลต้นแบบ”
- รายงานผลกองทุนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
17
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
14
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ 4บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติให้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม และสามารถลดค่าระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง สามารถนำรูปแบบกิจกรรมเป็นแนวทางในการนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครอบครัว และชุมชนเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อเปรียบเทียบค่าระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
31
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
17
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
14
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (3) เพื่อเปรียบเทียบค่าระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรม“การอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้’’ (3) กิจกรรม “ออกกำลังกายวันละนิด พิชิดความดัน” (4) กิจกรรม “เค็มพอดี สุขภาพดีตลอดกาล” (5) กิจกรรม “เยี่ยมบ้าน ติดตาม ดูแลพฤติกรรมสุขภาพ” (6) กิจกรรม “แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากบุคคลต้นแบบ” (7) รายงานผลกองทุนฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโสภา ก่อสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางโสภา ก่อสกุล
มกราคม 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,049.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นโรคที่สำคัญมาก และยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ตามรายงานระบุว่าผู้ใหญ่ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเพียง ร้อยละ 54 เท่านั้นที่ได้รับการวินิจฉัย ร้อยละ 42 ได้รับการรักษา และเพียง ร้อยละ 21 เท่านั้นที่สามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ โดยจะตรวจพบได้จากการวัดความดันโลหิต เป้าหมายระดับโลกประการหนึ่งสำหรับโรคไม่ติดต่อคือการลดอัตราการเกิดความดันโลหิตสูงลง ร้อยละ 33 ระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2573 (Kazuomi Kario et al., 2024) โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก พบว่า ในกลุ่มประชากร อายุ 30-79 ปี มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1.3 พันล้านคน มักไม่แสดงอาการในระยะเริ่มต้นแต่สามารถตรวจวินิจฉัยได้ และยังพบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยง ที่ก่อให้เกิดโรคอื่น ๆ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (กรมควบคุมโรค, 2562)
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยจากระบบรายงานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข ภาพรวมของประเทศ ปี 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากถึง 14 ล้านคน ขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 7 ล้านคน และผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ มีจำนวนมากถึง 2.8 ล้านคน (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566) ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้ ในระยะยาวจะส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด และโรคไตวายเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้ (กรมควบคุมโรค, 2562)
ข้อมูลจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 ปี 2562-2563 ในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยสถาบันระบบสาธารณสุข (สวรส.) พบว่า ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีร้อยละ 25.4 ผู้ชาย ร้อยละ 26.7 และผู้หญิงร้อยละ 24.2 ความชุกของโรคต่ำสุดในกลุ่มอายุ 15 - 29 ปี (ร้อยละ 3.3) จากนั้นเพิ่มขึ้นตามอายุและสูงสุดในกลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไป เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสำรวจ ฯ ครั้งที่ 5 ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในปี 2562-2563 นี้สูงกว่าปี 2557 ซึ่งพบความชุกร้อยละ 24.7 (ชาย ร้อยละ 25.6 และหญิง ร้อยละ 23.9) แต่การเข้าถึงระบบบริการยังไม่ดีขึ้น โดยในจำนวนคนที่เป็นความดันโลหิตสูงนั้น สัดส่วนของผู้ที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงเพิ่มจากร้อยละ 44.7 เป็นร้อยละ 48.8 สัดส่วนที่ได้รับการรักษาแต่ควบคุมไม่ได้ตามเกณฑ์เพิ่มจากร้อยละ 20.1 เป็น 25.0 และสัดส่วนของผู้ที่สามารถคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ลดลงจากร้อยละ 29.7 เป็น 22.6 ตามลำดับ
รายงานผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดตรัง พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 82,719 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 33,456 คน คิดเป็นร้อยละ 40.45 ซึ่งอำเภอรัษฎามีจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 3,759 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 1,455 คน คิดเป็นร้อยละ 38.71 และตำบลเขาไพรมีจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 287 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 31.01 (HDC, 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2567) จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง พบว่า ประชาชนกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงใน หมู่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ทั้งหมด 33 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 51.52 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร, 2567) ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (กระทรวงสาธารณสุข ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60) และหลังจากการร่วมกันจัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้านของประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อค้นหาปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน พบว่า ปัญหาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ เป็นปัญหาที่ชุมชนต้องการแก้ไขมากที่สุด จากการโยงใยสาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี โดยได้สร้างแบบสอบถาม พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จำเป็นต้องเน้นไปที่การให้ความรู้ในเรื่องของการควบคุมระดับความดันโลหิต และเน้นส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรจัดทำโครงการ การส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติให้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม และสามารถลดค่าระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
- เพื่อเปรียบเทียบค่าระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรม“การอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้’’
- กิจกรรม “ออกกำลังกายวันละนิด พิชิดความดัน”
- กิจกรรม “เค็มพอดี สุขภาพดีตลอดกาล”
- กิจกรรม “เยี่ยมบ้าน ติดตาม ดูแลพฤติกรรมสุขภาพ”
- กิจกรรม “แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากบุคคลต้นแบบ”
- รายงานผลกองทุนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 17 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 14 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ 4บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติให้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม และสามารถลดค่าระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง สามารถนำรูปแบบกิจกรรมเป็นแนวทางในการนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครอบครัว และชุมชนเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อเปรียบเทียบค่าระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 31 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 17 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 14 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (3) เพื่อเปรียบเทียบค่าระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในหมู่ที่ ๔ บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรม“การอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้’’ (3) กิจกรรม “ออกกำลังกายวันละนิด พิชิดความดัน” (4) กิจกรรม “เค็มพอดี สุขภาพดีตลอดกาล” (5) กิจกรรม “เยี่ยมบ้าน ติดตาม ดูแลพฤติกรรมสุขภาพ” (6) กิจกรรม “แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากบุคคลต้นแบบ” (7) รายงานผลกองทุนฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่ 4 บ้านทอนเหรียน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโสภา ก่อสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......