โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ”
ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเสกสรรค์ เพ็งรัศมี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1473-01-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1473-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออก (ข้อมูล 1 มกราคม – 14 ตุลาคม 2567) ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม จำนวน 81,052 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 124.86 ต่อแสนประชาชน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 63 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.09 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.07 จังหวัดตรังมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม จำนวน 975 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 153.21 ต่อแสนประชาชน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และอำเภอนาโยงมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม จำนวน 100 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 222.01 ต่อแสนประชาชน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตและจากสถานการณ์ของอำเภอนาโยงพบว่าผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (เพศหญิง 57 ราย เพศชาย 43 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชายเท่ากับ 1.34 : 1 ) กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี ( จำนวน 23 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 51.42 ต่อแสนประชากร ) และพบผู้ป่วยสูงสุดในเดือนมิถุนายน และสิงหาคม 2567 ( จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 19 ราย) จำแนกรายหน่วยบริการ พบว่ามีอัตราป่วยสูงสุดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านมาบบอน คิดเป็นอัตราป่วย 305.59 ต่อแสนประชากร รองลงมา รพ.สต.นาข้าวเสีย คิดเป็นอัตราป่วย 272.11 ต่อแสนประชากร และ รพ.สต.โคกสะบ้า คิดเป็นอัตราป่วย 241.94 ต่อแสนประชากร
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.โคกสะบ้า ที่รายงานทางระบาดวิทยา อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ข้างต้น ทาง รพ.สต.โคกสะบ้า จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหา ได้จัดทำโครงการโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน เสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชนและลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 4.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.2 เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
1,974
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
5.1 จัดทำโครงการฯ เพื่อเสนอพิจารณาอนุมัติ
5.2 วางแผนการดำเนินงาน ประสารหน่วยงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.3 ดำเนินกิจกรรมโครงการ ดังนี้
5.3.1 กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
5.3.2 กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย
5.3.3 ประเมินสถานการณ์เสี่ยง
4.4 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
4.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.2 เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1974
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
1,974
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 4.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.2 เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1473-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเสกสรรค์ เพ็งรัศมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ”
ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเสกสรรค์ เพ็งรัศมี
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1473-01-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1473-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออก (ข้อมูล 1 มกราคม – 14 ตุลาคม 2567) ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม จำนวน 81,052 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 124.86 ต่อแสนประชาชน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 63 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.09 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.07 จังหวัดตรังมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม จำนวน 975 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 153.21 ต่อแสนประชาชน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และอำเภอนาโยงมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม จำนวน 100 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 222.01 ต่อแสนประชาชน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตและจากสถานการณ์ของอำเภอนาโยงพบว่าผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (เพศหญิง 57 ราย เพศชาย 43 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชายเท่ากับ 1.34 : 1 ) กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี ( จำนวน 23 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 51.42 ต่อแสนประชากร ) และพบผู้ป่วยสูงสุดในเดือนมิถุนายน และสิงหาคม 2567 ( จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 19 ราย) จำแนกรายหน่วยบริการ พบว่ามีอัตราป่วยสูงสุดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านมาบบอน คิดเป็นอัตราป่วย 305.59 ต่อแสนประชากร รองลงมา รพ.สต.นาข้าวเสีย คิดเป็นอัตราป่วย 272.11 ต่อแสนประชากร และ รพ.สต.โคกสะบ้า คิดเป็นอัตราป่วย 241.94 ต่อแสนประชากร จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.โคกสะบ้า ที่รายงานทางระบาดวิทยา อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ข้างต้น ทาง รพ.สต.โคกสะบ้า จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหา ได้จัดทำโครงการโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน เสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชนและลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 4.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.2 เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,974 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
5.1 จัดทำโครงการฯ เพื่อเสนอพิจารณาอนุมัติ
5.2 วางแผนการดำเนินงาน ประสารหน่วยงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.3 ดำเนินกิจกรรมโครงการ ดังนี้
5.3.1 กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
5.3.2 กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย
5.3.3 ประเมินสถานการณ์เสี่ยง
4.4 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 4.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.2 เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1974 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,974 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 4.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.2 เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายด้านการป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่สามารถป้องกันได้ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1473-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเสกสรรค์ เพ็งรัศมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......