โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ ”
ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟัสลินดา เจ๊ะดาโอ๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ
ที่อยู่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2568-L2518-2-10 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2568-L2518-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าซึ่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชากรทุกเพศทุกวัยมิใช่มุ่งแต่เฉพาะวัยเด็กและวัยรุ่นเท่านั้นควรมีการพัฒนาวัยผู้สูงอายุและกลุ่มคนพิการด้วย และปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเหล่านี้ คือผู้ดูแลต้องมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกัน ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ได้ให้ความหมายของ “คนพิการ” หมายความว่า เป็นคนที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญาหรือทางจิตใจตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง ผู้พิการในที่นี้รวมทั้งผู้พิการที่เกิดจากโรคเรื้อรัง(หลอดเลือดสมอง) และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการหมายความว่าการเสริมสร้างสมรรถภาพ หรือการเสริมสร้างความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น “ผู้สูงอายุ”หมายความว่าบุคคลซึ่งอายุเกินกว่าหกสิบปีบบริบูรณ์ขึ้นไป“ผู้สูงอายุติดบ้าน” หมายความว่า ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้างในกิจวัตรประจำวัน “ผู้สูงอายุติดเตียง” หมายความว่า ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้เลย มีความพิการที่ต้องการคนช่วยดูแล ผู้ที่อยู่ในระยะจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ หมายความว่า บุคคลที่ยังไม่ถูกประเมินเป็นผู้พิการแต่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็นการได้ยินการเคลื่อนไหวการสื่อสารจิตใจอารมณ์ พฤติกรรมสติปัญญาการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด จากภาวะสุขภาพอนามัย ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูหรือช่วยเหลือให้มีสมรรถภาพด้านสุขภาพ เพื่อให้ข้อจำกัดดังกล่าวลดลง หรือหมดไป เนื่องด้วยในภาวะสังคมปัจจุบันนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอีกทั้งความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่สามารถควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อต่างๆ ทำให้อัตราการตายลดลงตลอดจนการวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพสามารถลดอัตราการเกิดของประชากรสิ่งเหล่านี้มีส่วนในการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ และจากการเปลี่ยนของสังคมก็ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในครอบครัว พบว่าครอบครัวในสังคมปัจจุบันแยกมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากยิ่งขึ้น จึงทำให้กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มคนพิการไม่ได้รับการดูแลจากคนรอบข้างอย่างใกล้ชิด จากการสำรวจพบว่าประชาชนในเขตตำบลกายูคละ มีคนพิการทุกประเภท 206 คน คิดเป็นร้อยละ 2.45 ของประชาชนทั้งหมด มีผู้สูงอายุทั้งหมด 935 คน คิดเป็นร้อยละ 11.13 ของประชากรทั้งหมด 8,397 คน ทั้งนี้ กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ ได้เล็งเห็นปัญหาที่ไม่มีผู้ดูแลและประสิทธิภาพของผู้ดูแล การให้คำปรึกษาด้านสุขภาพร่างกาย และจิตใจกับคนในกลุ่มผู้พิการ และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลกายูคละ ประจำปี 2568 เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุติด้านติดเตียง และผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองในการดูแลคนกลุ่มนี้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อฝึกทักษะการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ แก่ผู้พิการและผู้ดูแล
- เพื่อให้ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- ฝึกปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพได้ถูกต้องเหมาะสม
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีทักษะในการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น เบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ
- ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
60.00
60.00
2
เพื่อฝึกทักษะการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ แก่ผู้พิการและผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลคนพิการมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้จากที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงกลับมาเป็นผู้ป่วยติดบ้านแทน
60.00
60.00
3
เพื่อให้ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุขมากขึ้น
60.00
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อฝึกทักษะการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ แก่ผู้พิการและผู้ดูแล (3) เพื่อให้ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ฝึกปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2568-L2518-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฟัสลินดา เจ๊ะดาโอ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ ”
ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟัสลินดา เจ๊ะดาโอ๊ะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2568-L2518-2-10 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2568-L2518-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าซึ่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชากรทุกเพศทุกวัยมิใช่มุ่งแต่เฉพาะวัยเด็กและวัยรุ่นเท่านั้นควรมีการพัฒนาวัยผู้สูงอายุและกลุ่มคนพิการด้วย และปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเหล่านี้ คือผู้ดูแลต้องมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกัน ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ได้ให้ความหมายของ “คนพิการ” หมายความว่า เป็นคนที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญาหรือทางจิตใจตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง ผู้พิการในที่นี้รวมทั้งผู้พิการที่เกิดจากโรคเรื้อรัง(หลอดเลือดสมอง) และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการหมายความว่าการเสริมสร้างสมรรถภาพ หรือการเสริมสร้างความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น “ผู้สูงอายุ”หมายความว่าบุคคลซึ่งอายุเกินกว่าหกสิบปีบบริบูรณ์ขึ้นไป“ผู้สูงอายุติดบ้าน” หมายความว่า ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้างในกิจวัตรประจำวัน “ผู้สูงอายุติดเตียง” หมายความว่า ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้เลย มีความพิการที่ต้องการคนช่วยดูแล ผู้ที่อยู่ในระยะจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ หมายความว่า บุคคลที่ยังไม่ถูกประเมินเป็นผู้พิการแต่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็นการได้ยินการเคลื่อนไหวการสื่อสารจิตใจอารมณ์ พฤติกรรมสติปัญญาการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด จากภาวะสุขภาพอนามัย ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูหรือช่วยเหลือให้มีสมรรถภาพด้านสุขภาพ เพื่อให้ข้อจำกัดดังกล่าวลดลง หรือหมดไป เนื่องด้วยในภาวะสังคมปัจจุบันนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอีกทั้งความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่สามารถควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อต่างๆ ทำให้อัตราการตายลดลงตลอดจนการวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพสามารถลดอัตราการเกิดของประชากรสิ่งเหล่านี้มีส่วนในการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ และจากการเปลี่ยนของสังคมก็ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในครอบครัว พบว่าครอบครัวในสังคมปัจจุบันแยกมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากยิ่งขึ้น จึงทำให้กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มคนพิการไม่ได้รับการดูแลจากคนรอบข้างอย่างใกล้ชิด จากการสำรวจพบว่าประชาชนในเขตตำบลกายูคละ มีคนพิการทุกประเภท 206 คน คิดเป็นร้อยละ 2.45 ของประชาชนทั้งหมด มีผู้สูงอายุทั้งหมด 935 คน คิดเป็นร้อยละ 11.13 ของประชากรทั้งหมด 8,397 คน ทั้งนี้ กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ ได้เล็งเห็นปัญหาที่ไม่มีผู้ดูแลและประสิทธิภาพของผู้ดูแล การให้คำปรึกษาด้านสุขภาพร่างกาย และจิตใจกับคนในกลุ่มผู้พิการ และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลกายูคละ ประจำปี 2568 เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุติด้านติดเตียง และผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองในการดูแลคนกลุ่มนี้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อฝึกทักษะการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ แก่ผู้พิการและผู้ดูแล
- เพื่อให้ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- ฝึกปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 60 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพได้ถูกต้องเหมาะสม
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีทักษะในการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น เบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ
- ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม |
60.00 | 60.00 |
|
|
2 | เพื่อฝึกทักษะการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ แก่ผู้พิการและผู้ดูแล ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลคนพิการมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้จากที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงกลับมาเป็นผู้ป่วยติดบ้านแทน |
60.00 | 60.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข ตัวชี้วัด : ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุขมากขึ้น |
60.00 | 60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 60 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อฝึกทักษะการทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการสันทนาการ แก่ผู้พิการและผู้ดูแล (3) เพื่อให้ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ฝึกปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ตำบลกายูคละ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2568-L2518-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฟัสลินดา เจ๊ะดาโอ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......