โครงการป้องกันการติดเชื้อหลังจากการเข้าสุหนัตของเด็กและเยาวชน ตำบลควนโพธิ์ ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันการติดเชื้อหลังจากการเข้าสุหนัตของเด็กและเยาวชน ตำบลควนโพธิ์ ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | L5302-001/68 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมจริยธรรม ตำบล ควนโพธิ์ |
วันที่อนุมัติ | 1 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 เมษายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 150,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายฮาหรน ตำสำสู |
พี่เลี้ยงโครงการ | ตำบลควนโพธิ์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การเข้าสุหนัต หรือการขลิยปลายอวัยวะเพศในเด็กผู้ชาย เป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่ง ของมุสลิมที่ทุกคนพึงปฏิบัติ ตามหลักการของศาสนา อิสลาม ซึ่งจะกระทำกับเด็กชายที่มีอายุระหว่าง 9-16 ปี เด็กที่เข้าพิธีนี้ จะใช้หมอที่มีประสบการณ์ทำพิธีโดยบิดามารดาจะไปว่าจ้างผู้ที่มีความชำนาญ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หมอทำสุหนัต พร้อมกับเชิญญาติ พี่น้องมาร่วมพิธี เมือถึงเวลาทำพิธี จะประกอบพิธีทางศาสนาเพื่อขอพรแด่องค์อัลเลาะห์ ผู้ทำสุหนัตจะเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวเพื่อให้สะดวกในการทำสุนัต เช่น การนุ่งผ้าขาวม้า หรือนุ่งผ้าโสร่งกลอมเท้าก็ได้ เมื่อถึงเวลาทำพิธี หมอผู้ทำพิธีกล่าวนามพระผู้เป็นเจ้า เสร็จแล้วลงมือขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของผู้ทำสุหนัต ตามด้วยการกล่าวคำปฏิญาณต่อองค์อัลเลาะห์ ซึ่งชาวมุสลิมเชื่อว่า ชาวมุสลิมที่แท้จริงควรเข้าสุหนัต ถ้าไม่เข้าสุนัตถือเป็นมุสลิมไม่สมบูรณ์ ไม่บริสุทธิ์ อย่างก็ตามการทำสุหนัต ในบางครั้งพบว่าเกิดการติดเชื้อบริเวณบาดแผลบริเวณที่ขลิบอวัยวะเพศ ของเด็กผู้ชาย หากดูแลความสะอาดไม่ถูกต้อง โดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีความรู้ ที่ถูกต้องแล้ว แผลติดเชื้ออาจจะลุกลามจนต้องเข้ารักษาในโรงพยาบาล ทำให้ผู้ปกครองสูญเสียค่าใช้จ่าย เสียเวลาในการประกอบอาชีพ ในทางตรงการข้าม หากผู้ปกครองมีความรู้ในดการดูแลแผลหลังทำการขลิบปลายอวัยวะเพศ และใช้หมอที่ที่สุหนัดที่มีความสำนาญแล้ว ก็สามารถป้องกันการติดเชื้อดังกล่าวได้องค์การบริหารส่วนตำบลควนโพธิ์จึงได้จัดทำโครงการเพื่อป้องกันการเกิดการติดเชื้อ ขึ้น โดยมีเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการนในเด็กและเยาวชน จำนวน 50 คน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 150,000.00 | 1 | 0.00 | 150,000.00 | |
1 - 31 มี.ค. 68 | ประชาสัมพันธ์ และรับสมัครเด็กเข้าร่วมโครงการ | 0 | 6,700.00 | - | - | ||
19 - 20 เม.ย. 68 | เข้าค่ายเตรียมความพร้อมของผู้เข้าร่วมโครงการ | 0 | 83,300.00 | - | - | ||
20 เม.ย. 68 | ทำพิธีการเข้าสุหนัติ | 0 | 60,000.00 | ✔ | 0.00 | 60,000.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 150,000.00 | 1 | 0.00 | 150,000.00 |
ด็กและเยาวชนได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวาะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ในการป้องกันโรคติดเชื้อ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2567 00:00 น.