โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ”
ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรรณทิพา ขาวเรือง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7251-01-01 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7251-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอำเภอระโนด มีผู้พิการทั้งหมด 2,542 คน มีผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบทั้งหมดจำนวน 1,577 คน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญในสถานบริการระดับปฐมภูมิ โดยแนวคิดการฟื้นสมรรถภาพคนพิการที่เป็นที่ยอมรับและมีประสิทธิภาพ ที่ควรนำมาปฏิบัติ คือ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการสอดคล้องตามนโยบายโครงการหลักประกันสุขภาพดีถ้วนหน้า ทำให้ผู้พิการได้รับการบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ และจัดหาอุปกรณ์เครื่อช่วยความพิการได้อย่างทั่วถึง
และจากสถานการณ์ปี 2567 ผู้พิการในเขตเทศบาลตำบลบ่อตรุ มีจำนวนทั้งหมด 473 คน มีผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว จำนวน 212 คน ซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ผู้พิการและการเคลื่อนไหว จำนวน 212 คน ซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ผู้พิการเกิดภาวะแทรกซ้อน และเกิดความพิการเพิ่มขึ้น ดังนั้นหน่วยงานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลระโนดร่วมกับ รพ.สต.บ่อตรุ รพ.สต.วัดสน และรพ.สต.ระวะ จึงได้จัดทำ " โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน " เพื่อให้ อสม. และ ผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้ ทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน และสามารถสำรวจจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยผู้พิการให้ครอบคลุม และสามารถฝึกทักษะการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยเดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการโดยให้ชุมชนเข้่ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนระบบบริการสำหรับผู้พิการมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดีกับผู้พิการทำให้ผู้พิการมีโอกาสได้รับการพัฒนาเต็มตามวัยศักยภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถกลับมาดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ มีประสิทธิภาพ มีการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงทั้งในสถานบริการลงสู่บ้านครบวงจร สร้างเสริมสมรรถนะเกิดการพัฒนาศักยภาพความเข้มแข็ง ให้แก่บุคลากรสาธารณสุข แกนนำ ภาคีเครือข่าย ทั้งยังเกิดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเครือข่ายสร้างเสริมผู้พิการได้อย่างทั่วถึงและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ
- เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้การ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน
- เพื่อให้อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เพื่อให้อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการทางกาย และการเคลื่อนไหว ที่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการสามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรร์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้การ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ (2) เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้การ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน (3) เพื่อให้อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7251-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวพรรณทิพา ขาวเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ”
ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรรณทิพา ขาวเรือง
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7251-01-01 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7251-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอำเภอระโนด มีผู้พิการทั้งหมด 2,542 คน มีผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบทั้งหมดจำนวน 1,577 คน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญในสถานบริการระดับปฐมภูมิ โดยแนวคิดการฟื้นสมรรถภาพคนพิการที่เป็นที่ยอมรับและมีประสิทธิภาพ ที่ควรนำมาปฏิบัติ คือ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการสอดคล้องตามนโยบายโครงการหลักประกันสุขภาพดีถ้วนหน้า ทำให้ผู้พิการได้รับการบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ และจัดหาอุปกรณ์เครื่อช่วยความพิการได้อย่างทั่วถึง และจากสถานการณ์ปี 2567 ผู้พิการในเขตเทศบาลตำบลบ่อตรุ มีจำนวนทั้งหมด 473 คน มีผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว จำนวน 212 คน ซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ผู้พิการและการเคลื่อนไหว จำนวน 212 คน ซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ผู้พิการเกิดภาวะแทรกซ้อน และเกิดความพิการเพิ่มขึ้น ดังนั้นหน่วยงานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลระโนดร่วมกับ รพ.สต.บ่อตรุ รพ.สต.วัดสน และรพ.สต.ระวะ จึงได้จัดทำ " โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน " เพื่อให้ อสม. และ ผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้ ทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน และสามารถสำรวจจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยผู้พิการให้ครอบคลุม และสามารถฝึกทักษะการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยเดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการโดยให้ชุมชนเข้่ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนระบบบริการสำหรับผู้พิการมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดีกับผู้พิการทำให้ผู้พิการมีโอกาสได้รับการพัฒนาเต็มตามวัยศักยภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถกลับมาดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ มีประสิทธิภาพ มีการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงทั้งในสถานบริการลงสู่บ้านครบวงจร สร้างเสริมสมรรถนะเกิดการพัฒนาศักยภาพความเข้มแข็ง ให้แก่บุคลากรสาธารณสุข แกนนำ ภาคีเครือข่าย ทั้งยังเกิดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเครือข่ายสร้างเสริมผู้พิการได้อย่างทั่วถึงและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ
- เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้การ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน
- เพื่อให้อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เพื่อให้อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการทางกาย และการเคลื่อนไหว ที่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการสามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรร์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้การ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้และทักษะในฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ (2) เพื่อให้ อสม.และผู้ดูแลผู้การ สามารถสำรวจผู้ป่วยที่มีความพิการ ที่่ยังไม่ได้ดำเนินการจดทะเบียนผู้พิการในชุมชน (3) เพื่อให้อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ สามารถสำรวจ และฝึกทักษะการใช้กายอุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการใส่ใจ ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7251-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวพรรณทิพา ขาวเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......