กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ทุ่งพลา

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2979-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2979-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรงและทวีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลกระทบอย่างมากต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม การป้องกันโรคซึมเศร้าที่ได้ผล คือ Early detection และให้การช่วยเหลือทันทีตั้งแต่เริ่มมีอาการซึมเศร้า มีเครื่องมือประเมินที่ง่าย และมีความไวสาหรับใช้ในชุมชน โดยแกนนำชุมชน หรือประชาชนสามารถนำมาใช้ในการประเมินตนเองได้ด้วยตนเอง เรียกว่า “แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย หรือ DS 8 ”พัฒนาโดย ทวี ตั้งเสรีและคณะ (2551) แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้ามี 2 องค์ประกอบคือ Mood and cognitive behavior component และ Somatic component โดยมีค่าความไวร้อยละ 89.9 ความจำเพาะร้อยละ 71.9 ในส่วนของการคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเหลือเพียงองค์ประกอบเดียวคือ Suicidal intention มีคำถาม 2 ข้อ มีค่าความไวร้อยละ 87.1 ความจำเพาะร้อยละ 89.4 แบบคัดกรองฉบับนี้ จึงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ใช้คัดกรองผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า (ข้อ 1-6) ส่วนที่ 2 ใช้คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (ข้อที่ 7-8) เป็นแบบคัดกรองที่ง่ายและสะดวกต่อการนำไปใช้ในชุมชน
ถ้าผลประเมินพบว่า ถ้าตอบว่า “ มี” ตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป หรือ 3 คะแนนขึ้นไป ในคำถามข้อที่ 1-6 ซึ่งเป็นคำถามของแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า หมายถึง “มีภาวะซึมเศร้า” จะได้รับการให้บริการปรึกษาหรือพบแพทย์ เพื่อการบำบัดรักษาและถ้าตอบว่า “ มี” ตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป หรือ 1 คะแนนขึ้นไป ในข้อคำถามข้อที่ 7 – 8เป็นคำถามของแบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย หมายถึง “มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย” โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสามารถนำไป คัดกรองกลุ่มเสี่ยงและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นตั้งแต่ในชุมชนป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้รับบริการหรือกลุ่มเสี่ยงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ได้แก่ โรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล ได้รับการคัดกรองแบบครอบคลุมทุกคน
  2. 2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต
  3. 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยให้ได้รับการส่งต่อและการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 1,000
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
    2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้า ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ได้แก่ โรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล ได้รับการคัดกรองแบบครอบคลุมทุกคน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยให้ได้รับการส่งต่อและการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 1,000
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ได้แก่ โรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล ได้รับการคัดกรองแบบครอบคลุมทุกคน (2) 2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต (3) 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยให้ได้รับการส่งต่อและการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายรายบุคคล จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L2979-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ทุ่งพลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด