โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณูเฟีย แวโดยี ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา
มกราคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 006 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มกราคม 2568 ถึง 30 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มกราคม 2568 - 30 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,017.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันถ้าจะกล่าวถึงสัตว์ที่เป็นพาหะโรค สัตว์อันดับต้นๆที่คิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็น พาหะโรคร้ายต่างๆที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวนมาก ยุงเป็นพาหะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้ซิก้า ไข้ปวดข้อยุงลาย ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย และยังมีแนวโน้มว่าเป็น ปัญหาในอนาคต เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตาย และการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกส่งผล ต่อสุขภาพผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนและสังคม โรคไข้เลือดออกสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี แต่จะมีการ ระบาดมากช่วงหน้าฝน โดยธรรมชาติของโรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดปีเว้นปีหรือระบาดปีเว้น 2 ปี
จากการสำรวจ ตำบลสะดาวามีผู้ป่วยไข้เลือดออกใน ปีพ.ศ. 2565 2566 2567 จำนวนทั้งหมด 60 ราย 32ราย 50 ราย ตามลำดับ กลุ่มวัยที่พบการเกิดโรค ได้แก่ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และวัยทำงานรับจ้างทั่วไป เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อเทียบดูจากสถิติการเกิดโรคในปีที่ผ่านมา การระบาดของโรค ไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่ง พอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้น ได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน ทุกๆบ้าน ทุกๆ ครัวเรือนจึงเลือกใช้ยากันยุงกันอย่างแพร่หลาย เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ำมันมันไล่ยุง แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทำให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้ ผู้จัดทำได้พบว่ามีชาวบ้านในท้องถิ่นได้นำใบตะไคร้หอมนำมาทุบแล้วนำมาวางไว้ใกล้ตัว พบว่าสามารถไล่ยุงได้ จากการค้นคว้า ตะไคร้หอมเป็นสมุนไพรที่สามารถไล่ยุงได้ โดยใบตะไคร้หอม จะมีน้ามันหอมระเหยสกัด สามารถใช้ไล่แมลงได้ เมื่อนำน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมมาทดสอบกับยุงที่เป็นพาหะของโรคมาลาเรีย ไข้เลือดออก ไข้ซิก้า ไข้ปวดข้อยุงลาย และเท้าช้าง พบว่า มีผลป้องกันยุงกัดได้นาน 8-10ชั่วโมง อีกทั้งยังมีนวัตกรรมจากสมุนไพรอีกมากมายที่สามารถใช้ป้องกันยุงได้ เช่น ธูปไล่ยุง ถุงหอมไล่ยุง สเปรย์กันยุง เทียนหอมกันยุง ที่ทำจากสมุนไพร เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา กลุ่มงานแพทย์แผนไทย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม และแก้ปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างเร่งด่วน เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ รวมถึง การสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดี ลดอัตราป่วยด้วย โรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อดำเนินการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ทั้ง 8 หมู่บ้านในตำบลสะดาวา
- เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด ให้ความรู้กับคนในชุมชนรวมถึงลูกหลานได้นำไปใช้ต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
160
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน และสามารถต่อยอดความรู้ที่ได้ให้กับคนในชุมชนและคนในครอบครัว
2.กลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้านมีการใช้สมุนไพรในชุมชนอย่างเกิดประโยชน์ และส่งเสริมการใช้อย่างคุ้มค่า
3.กลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้าน เกิดความเข้มแข็ง สามารถรวมกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และแจกจ่ายให้กับคนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อดำเนินการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ทั้ง 8 หมู่บ้านในตำบลสะดาวา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความใจเรื่องการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ผ่านการทำแบบทดสอบ รวมถึงสามารถสาธิตการป้องกัน ควบคุมโรคได้
2
เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพร ผ่านการทำแบบประเมินและแบบทดสอบ
3
เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด ให้ความรู้กับคนในชุมชนรวมถึงลูกหลานได้นำไปใช้ต่อไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้ความรู้ความเข้าใจผ่านการตอบคำถามและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเองได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
160
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อดำเนินการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ทั้ง 8 หมู่บ้านในตำบลสะดาวา (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด (3) เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด ให้ความรู้กับคนในชุมชนรวมถึงลูกหลานได้นำไปใช้ต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวณูเฟีย แวโดยี ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณูเฟีย แวโดยี ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย
มกราคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 006 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มกราคม 2568 ถึง 30 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มกราคม 2568 - 30 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,017.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันถ้าจะกล่าวถึงสัตว์ที่เป็นพาหะโรค สัตว์อันดับต้นๆที่คิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็น พาหะโรคร้ายต่างๆที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวนมาก ยุงเป็นพาหะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้ซิก้า ไข้ปวดข้อยุงลาย ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย และยังมีแนวโน้มว่าเป็น ปัญหาในอนาคต เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตาย และการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกส่งผล ต่อสุขภาพผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนและสังคม โรคไข้เลือดออกสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี แต่จะมีการ ระบาดมากช่วงหน้าฝน โดยธรรมชาติของโรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดปีเว้นปีหรือระบาดปีเว้น 2 ปี
จากการสำรวจ ตำบลสะดาวามีผู้ป่วยไข้เลือดออกใน ปีพ.ศ. 2565 2566 2567 จำนวนทั้งหมด 60 ราย 32ราย 50 ราย ตามลำดับ กลุ่มวัยที่พบการเกิดโรค ได้แก่ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และวัยทำงานรับจ้างทั่วไป เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อเทียบดูจากสถิติการเกิดโรคในปีที่ผ่านมา การระบาดของโรค ไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่ง พอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้น ได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน ทุกๆบ้าน ทุกๆ ครัวเรือนจึงเลือกใช้ยากันยุงกันอย่างแพร่หลาย เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ำมันมันไล่ยุง แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทำให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้ ผู้จัดทำได้พบว่ามีชาวบ้านในท้องถิ่นได้นำใบตะไคร้หอมนำมาทุบแล้วนำมาวางไว้ใกล้ตัว พบว่าสามารถไล่ยุงได้ จากการค้นคว้า ตะไคร้หอมเป็นสมุนไพรที่สามารถไล่ยุงได้ โดยใบตะไคร้หอม จะมีน้ามันหอมระเหยสกัด สามารถใช้ไล่แมลงได้ เมื่อนำน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมมาทดสอบกับยุงที่เป็นพาหะของโรคมาลาเรีย ไข้เลือดออก ไข้ซิก้า ไข้ปวดข้อยุงลาย และเท้าช้าง พบว่า มีผลป้องกันยุงกัดได้นาน 8-10ชั่วโมง อีกทั้งยังมีนวัตกรรมจากสมุนไพรอีกมากมายที่สามารถใช้ป้องกันยุงได้ เช่น ธูปไล่ยุง ถุงหอมไล่ยุง สเปรย์กันยุง เทียนหอมกันยุง ที่ทำจากสมุนไพร เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา กลุ่มงานแพทย์แผนไทย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม และแก้ปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างเร่งด่วน เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ รวมถึง การสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดี ลดอัตราป่วยด้วย โรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อดำเนินการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ทั้ง 8 หมู่บ้านในตำบลสะดาวา
- เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด ให้ความรู้กับคนในชุมชนรวมถึงลูกหลานได้นำไปใช้ต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 160 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน และสามารถต่อยอดความรู้ที่ได้ให้กับคนในชุมชนและคนในครอบครัว 2.กลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้านมีการใช้สมุนไพรในชุมชนอย่างเกิดประโยชน์ และส่งเสริมการใช้อย่างคุ้มค่า 3.กลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้าน เกิดความเข้มแข็ง สามารถรวมกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และแจกจ่ายให้กับคนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อดำเนินการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ทั้ง 8 หมู่บ้านในตำบลสะดาวา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความใจเรื่องการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ผ่านการทำแบบทดสอบ รวมถึงสามารถสาธิตการป้องกัน ควบคุมโรคได้ |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพร ผ่านการทำแบบประเมินและแบบทดสอบ |
|
|||
3 | เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด ให้ความรู้กับคนในชุมชนรวมถึงลูกหลานได้นำไปใช้ต่อไป ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้ความรู้ความเข้าใจผ่านการตอบคำถามและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเองได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 160 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อดำเนินการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ทั้ง 8 หมู่บ้านในตำบลสะดาวา (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด (3) เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด ให้ความรู้กับคนในชุมชนรวมถึงลูกหลานได้นำไปใช้ต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวณูเฟีย แวโดยี ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......