โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวกัซตีนีย์ เจะซู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา
มกราคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 008 เลขที่ข้อตกลง 8/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 16 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 16 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,637.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 โดยสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีภาวะสมองเสื่อมสูงถึงร้อยละ 8.1 โดยเมื่อมีอายุเพิ่มมากขึ้น ความชุกของภาวะสมองเสื่อมจะเพิ่มมากขึ้น เทียบได้ว่าผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ทุก ๆ 12 คน จะพบเป็นโรคสมองเสื่อม 1 คน โดยที่ผ่านมากรมอนามัยมีนโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพ โดยการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้น มีการพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูล การอบรมอาสาสมัคร การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข การพัฒนาระบบบริการในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม การจัดสภาพแวดล้อมให้มั่นคงปลอดภัย เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักตนเองและสิ่งรอบตัวตามความเป็นจริง เช่น การดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (ตำบล Long Term Care) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี เข้าถึงระบบบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม
ในด้านสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในประเทศไทยนั้น จากการสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มผู้สูงอายุ 60 - 74 ปี มีผู้มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ร้อยละ 56.1 ผู้มีฟันถาวรใช้งาน 20 ซี่และมีฟันหลัง 4 คู่สบร้อยละ 39.4 มีปัญหาการสูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 8.7 มีความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมบางส่วน ร้อยละ 42.6 มีความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมทั้งปากร้อยละ 2.7 ผู้ที่มีฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 52.6 และมีรากฟันผุร้อยละ 16.5 ในส่วนของโรคปริทันต์ พบว่า มีการทำลายของอวัยวะปริทันต์ที่อยู่รอบรากฟันหรือมีร่องลึกปริทันต์ร้อยละ 36.3 โดยมีสภาวะปริทันต์อักเสบรุนแรงร้อยละ 12.2 ในผู้สูงอายุตอนปลายอายุ 80 - 85 ปี มีการสูญเสียฟันถาวรเพิ่มขึ้น ผู้ที่มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ร้อยละ 22.4 และมีฟันหลังสบกัน 4 คู่สบร้อยละ 12.1 ผู้สูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 31.0 มีรากฟันผุร้อยละ 12.5 และมีความจำเป็นต้องใส่ฟันเทียมทั้งปากร้อยละ 13.1 ทั้งนี้ ได้มีความพยายามแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ โดยได้จัดทำแผนงานทันตสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2567 และกำหนดประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุไว้ 7 ประเด็นสำคัญ โดยมี 6 ประเด็น ระบุไว้ในรายงานขององค์การอนามัยโลกและมีประเด็นที่เพิ่มเติม ดังนี้ 1. การสูญเสียฟันและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใส่ฟัน 2. ฟันผุและรากฟันผุ 3. โรคปริทันต์ 4. แผลและมะเร็งช่องปาก 5. สภาวะน้ำลายแห้ง 6. ฟันสึก และ 7. สภาวะช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบของผู้สูงอายุ
จากการสำรวจจำนวนประชากรผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี มีจำนวนผู้สูงอายุ 83,875 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 11,363 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55 ในอำเภอยะรัง มีผู้สูงอายุจำนวน 9,386 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 2,190 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 และตำบลสะดาวา มีผู้สูงอายุจำนวน 853 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 292 คน คิดเป็นร้อยละ 34.23 (ที่มา: HDC จังหวัดปัตตานี) ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่า มีการเข้าถึงบริการด้านทันตกรรมของกผู้สูงอายุเป็นจำนวนน้อย ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก การคัดกรองโรคในช่องปาก การได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม รวมทั้งไม่ได้รับความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ก่อให้เกิดโรคในช่องปากและส่งผลต่อสุขภาพร่างกายและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้
จากปัญหาดังกล่าว ทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีได้เล็งเห็นถึงปัญหาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและเหมาะสม สามารถป้องกันปัญหาที่เกิดจากโรคในช่องปาก เป็นกระบวนการฝึกวินัยและสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุ ทั้งด้านการดูแลทางสุขภาพทั่วไปและทางทันตสุขภาพอย่างทั่วถึงเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสภาวะสุขภาพฟันดี สุขภาวะที่ดีและสามารถดูแลตนเองได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ และมีสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านการส่งเสริมป้องกัน ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ด้านทันตกรรม
1. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพปากช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม เพื่อลดการสูญเสียฟันที่จะเกิดขึ้นได้
2. ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงการดูแลสุขภาพชองปากโดยบุคลากรทางทันตกรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดีจากการได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม
3. ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ 20 ซี่ สามารถคงสภาพฟันที่มีอยู่ และสามารถใช้งานได้
ด้านอารมณ์
1. ผู้สูงอายุสามาถปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ (อ่านอัลกุรอ่าน)
2. ผู้สูงอายุสามารถเข้าสังคมได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ และมีสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง
3
เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านการส่งเสริมป้องกัน ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจฟันและรับได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ และมีสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านการส่งเสริมป้องกัน ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 008
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวกัซตีนีย์ เจะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวกัซตีนีย์ เจะซู
มกราคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 008 เลขที่ข้อตกลง 8/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 16 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 16 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,637.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 โดยสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีภาวะสมองเสื่อมสูงถึงร้อยละ 8.1 โดยเมื่อมีอายุเพิ่มมากขึ้น ความชุกของภาวะสมองเสื่อมจะเพิ่มมากขึ้น เทียบได้ว่าผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ทุก ๆ 12 คน จะพบเป็นโรคสมองเสื่อม 1 คน โดยที่ผ่านมากรมอนามัยมีนโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพ โดยการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้น มีการพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูล การอบรมอาสาสมัคร การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข การพัฒนาระบบบริการในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม การจัดสภาพแวดล้อมให้มั่นคงปลอดภัย เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รู้จักตนเองและสิ่งรอบตัวตามความเป็นจริง เช่น การดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (ตำบล Long Term Care) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี เข้าถึงระบบบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม ในด้านสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในประเทศไทยนั้น จากการสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มผู้สูงอายุ 60 - 74 ปี มีผู้มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ร้อยละ 56.1 ผู้มีฟันถาวรใช้งาน 20 ซี่และมีฟันหลัง 4 คู่สบร้อยละ 39.4 มีปัญหาการสูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 8.7 มีความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมบางส่วน ร้อยละ 42.6 มีความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมทั้งปากร้อยละ 2.7 ผู้ที่มีฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 52.6 และมีรากฟันผุร้อยละ 16.5 ในส่วนของโรคปริทันต์ พบว่า มีการทำลายของอวัยวะปริทันต์ที่อยู่รอบรากฟันหรือมีร่องลึกปริทันต์ร้อยละ 36.3 โดยมีสภาวะปริทันต์อักเสบรุนแรงร้อยละ 12.2 ในผู้สูงอายุตอนปลายอายุ 80 - 85 ปี มีการสูญเสียฟันถาวรเพิ่มขึ้น ผู้ที่มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ร้อยละ 22.4 และมีฟันหลังสบกัน 4 คู่สบร้อยละ 12.1 ผู้สูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 31.0 มีรากฟันผุร้อยละ 12.5 และมีความจำเป็นต้องใส่ฟันเทียมทั้งปากร้อยละ 13.1 ทั้งนี้ ได้มีความพยายามแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ โดยได้จัดทำแผนงานทันตสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2567 และกำหนดประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุไว้ 7 ประเด็นสำคัญ โดยมี 6 ประเด็น ระบุไว้ในรายงานขององค์การอนามัยโลกและมีประเด็นที่เพิ่มเติม ดังนี้ 1. การสูญเสียฟันและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใส่ฟัน 2. ฟันผุและรากฟันผุ 3. โรคปริทันต์ 4. แผลและมะเร็งช่องปาก 5. สภาวะน้ำลายแห้ง 6. ฟันสึก และ 7. สภาวะช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบของผู้สูงอายุ จากการสำรวจจำนวนประชากรผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี มีจำนวนผู้สูงอายุ 83,875 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 11,363 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55 ในอำเภอยะรัง มีผู้สูงอายุจำนวน 9,386 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 2,190 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 และตำบลสะดาวา มีผู้สูงอายุจำนวน 853 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 292 คน คิดเป็นร้อยละ 34.23 (ที่มา: HDC จังหวัดปัตตานี) ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่า มีการเข้าถึงบริการด้านทันตกรรมของกผู้สูงอายุเป็นจำนวนน้อย ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก การคัดกรองโรคในช่องปาก การได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม รวมทั้งไม่ได้รับความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ก่อให้เกิดโรคในช่องปากและส่งผลต่อสุขภาพร่างกายและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้ จากปัญหาดังกล่าว ทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีได้เล็งเห็นถึงปัญหาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและเหมาะสม สามารถป้องกันปัญหาที่เกิดจากโรคในช่องปาก เป็นกระบวนการฝึกวินัยและสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุ ทั้งด้านการดูแลทางสุขภาพทั่วไปและทางทันตสุขภาพอย่างทั่วถึงเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสภาวะสุขภาพฟันดี สุขภาวะที่ดีและสามารถดูแลตนเองได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ และมีสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านการส่งเสริมป้องกัน ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ด้านทันตกรรม 1. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพปากช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม เพื่อลดการสูญเสียฟันที่จะเกิดขึ้นได้ 2. ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงการดูแลสุขภาพชองปากโดยบุคลากรทางทันตกรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดีจากการได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม 3. ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ 20 ซี่ สามารถคงสภาพฟันที่มีอยู่ และสามารถใช้งานได้ ด้านอารมณ์ 1. ผู้สูงอายุสามาถปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ (อ่านอัลกุรอ่าน) 2. ผู้สูงอายุสามารถเข้าสังคมได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ และมีสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านการส่งเสริมป้องกัน ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจฟันและรับได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ และมีสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการแปรงฟัน และการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านการส่งเสริมป้องกัน ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุตำบลสะดาวาสุขภาพฟันดี ด้วยวิถีอิสลาม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L3035 -2568 – 01 - 008
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวกัซตีนีย์ เจะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......