กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘ ”
ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฉวีวรรณ แสงหิรัญ




ชื่อโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘

ที่อยู่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1519-2-5 เลขที่ข้อตกลง 005/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1519-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกกำลังเผชิญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากปริมาณ ขยะที่เพิ่มขึ้น จากการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการขยายตัวของเมืองที่เข้าสู่การพัฒนาเมืองอย่างรวดเร็ว ร่วมกับมีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2555 พบว่า ทั่วโลกมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 1,300 ล้านตัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2559 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 2,010 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 54.62 โดยเฉลี่ยมนุษย์ทำให้เกิดขยะมูลฝอย 0.74 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน โดยคาดการณ์ว่าในปี ค.ศ. 2050 จะมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นถึง 3 ,400 ล้านตันโดยเฉลี่ยมนุษย์ทำให้เกิดขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นเป็น 0.96 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ซึ่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิกเป็นภูมิภาคที่มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นมากที่สุดในโลก
    “ขยะมูลฝอย" อีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ ซึ่งหากได้รับการจัดการอย่างไม่ถูกต้อง จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษในด้านต่าง ๆ อาทิ กลิ่นเหม็นน้ำเสีย สัตว์พาหะนำโรค รวมถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลก ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากปริมาณ ขยะที่เพิ่มขึ้น จากการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการขยายตัวของเมืองที่เข้าสู่การพัฒนาเมืองอย่างรวดเร็ว ร่วมกับมีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จากการสำรวจในย้อนหลัง 5ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562-2566 พบว่า ประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 131.7 ล้านตัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 26.95 ล้านตัน เพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยมนุษย์ทำให้เกิดขยะมูลฝอย 1.12 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ถูกกลับมาใช้ประโยชน์ 9.31 ล้านตัน ขยะมูลฝอยที่ถูกกำจัดถูกต้อง ร้อยละ 10.17 ล้านตัน และ ถูกกำจัดไม่ถูกต้อง 7.47 ล้านตัน ทั้งนี้ชุมชนยังคงมีปัญหาในการจัดการขยะมูลฝอย ณ ต้นทาง โดยการคัดแยกขยะมูลฝอยยังคง ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เนื่องจากขยะบรรจุภัณฑ์บางประเภทมีราคารับซื้อต่ำหรือไม่มีการรับ ซื้อโดยร้านรับซื้อของเก่า ทำให้ประชาชนทิ้งรวมกับขยะอื่น ๆ เพื่อนำไปกำจัดซึ่งเกิดจากการที่ไม่มี เครื่องมือ กลไกที่จะให้ผู้ประกอบการรับผิดชอบสินค้าและผลิตภัณฑ์ของตนเอง อีกทั้งกฎหมายในปัจจุบันไม่มีผลบังคับให้ประชาชนคัดแยกขยะมูลฝอย (กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ,/2566) เมื่อเราจำแนกปริมาณขยะมูลฝอยรายภูมิภาค พบว่า ปริมาณมูลขยะฝอยมากที่สุดเป็นของภาคกลาง จำนวน 18,591 ตัน/วัน รองลงมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 17,873 ตัน/วัน และภาคใต้ จำนวน 9,705 ตัน/วัน พื้นที่รับผิดชอบ อบต.วังมะปรางเหนือ ยังไม่มีการเก็บขนขยะ ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้นักเรียนโรงเรียนสวนป่าประชาอุปถัมภ์ เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้
    ทางโรงเรียนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดการขยะเพื่อป้องกันการเกิดโรคจากขยะมูลฝอย และให้นักเรียนมีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ปลูกจิตสำนึกการลด การคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ในโรงเรียน ตามหลัก Zero Waste “การจัดการขยะให้เหลือศูนย์” ตามหลัก 3Rs คือ reduce Reuse และ Recycle ส่งผลต่อ การมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ และ แข็งแรง มีความพร้อมด้าน จิตใจ สติปัญญา ความรู้ นักเรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข และจะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทางโรงเรียนสวนป่าประชาอุปถัมภ์จึงได้จัดทำโครงการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
  2. เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียนสามารถสำรวจ คัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะตามแนวทาง 3Rs เบื้องต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 102
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้น อนุบาล ๑ ถึง ป. ๖ มีความรู้ในการคัดแยกขยะ และประโยชน์ของขยะหลังเรียนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
    80.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้น อ.๑ – ป.๖ เห็นความสำคัญและรู้จักรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ร้อยละ 80
    80.00

     

    3 เพื่อให้นักเรียนสามารถสำรวจ คัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะตามแนวทาง 3Rs เบื้องต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้น อ.๑ – ป.๖ สามารถสำรวจ คัดแยกขยะ ได้ประเภทได้ถูกต้อง สามารถจัดการขยะตามแนวทาง 3Rs ร้อยละ 80
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 102
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 102
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ (2) เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนสามารถสำรวจ คัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะตามแนวทาง 3Rs เบื้องต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) พาชีวิตดี มีความสุข ป้องกันโรคที่เกิดจากขยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1519-2-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฉวีวรรณ แสงหิรัญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด