โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางจิต กั่วพานิช
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง
กุมภาพันธ์ 2568
ชื่อโครงการ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทย มีความคุ้นเคยกับคำว่า “ออกกำลังกาย” มายาวนาน โดยนิยามของการออกกำลังกาย คือการกระทำใด ๆ ที่ทำให้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย แบบซ้ำ ๆ มีการวางแผนเป็นแบบแผนและมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน เพื่อสังคม โดยใช้กิจกรรมง่าย ๆ หรือกติกาการแข่งขันง่าย ๆ เช่น การเดิน การวิ่ง การเต้น ฯลฯ และในปัจจุบันประเทศไทยได้สนับสนุนการออกกำลังกายโดยการจัดกิจกรรมทางกาย ที่กว้างขว้างกว่าการออกกำลังกาย กล่าวคือ การขยับร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ในอิริยาบถต่าง ๆ ซึ่งก่อการใช้และการเผาผลาญพลังงานและเสริมสร้างกล้ามเนื้อ ชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีนจึงมีแนวคิดที่จะจัดการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ซึ่งบาสโลบเป็นของประเทศลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากฝรั่งเศส เนื่องจากในอดีต สปป.ลาว เป็นเมืองในอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศสมาก่อน จึงยังคงหลงเหลือวัฒนธรรมบางอย่างจากฝรั่งเศสให้เห็นอยู่ ในโอกาสที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านรวม 10 ประเทศ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน เราต้องศึกษาประเพณีวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านให้เข้าใจ เมื่อเรามีโอกาสประสานสัมพันธ์เข้ากับสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้อย่างสนิทแนบแน่นยิ่งขึ้น ซึ่งจะเกิดผลดีต่อหน้าที่การงานและความสัมพันธ์ระหว่างกัน สำหรับประเทศลาวมีประเพณี วัฒนธรรมคล้ายคลึงกับประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษา การแต่งกาย การละเล่น การนับถือศาสนา อาหาร ต่อมาเมื่อบาสโลบได้เข้ามาแพร่หลายในประเทศไทย จึงได้มีการพัฒนาดัดแปลงโดยใช้ท่าแอโรบิค ลีลาศ มวยไทย ใช้ท่าฟ้อนของภาคเหนือ รำเซิ้งของอีสาน หรือแม้กระทั่งการนำท่ารำมโนห์ราของภาคใต้เข้ามาประยุกต์ เป็นท่าเต้น จึงถือว่าเป็นการเต้นที่เป็นเอกลักษณ์ ที่มีการสร้างสรรค์ท่าเต้น ให้เข้ากับยุคสมัยและวัฒนธรรมประเพณีดีงาม การเต้น หรือ Paslop ทุกคนจะยืนตั้งแถวเป็นหน้ากระดาน หรือแถวตอน มีหนึ่งแถวหรือมากกว่าก็ได้ สิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน คือ ทุกคนจะเต้นเป็นจังหวะ อย่างพร้อมเพียงกัน ขยับไปซ้ายที ขวาที มีการแตะเท้าเป็นจังหวะตามเพลง หมุนวนไปทั้ง 4 ทิศ จะเห็นการเต้นในงานรื่นเริงต่าง ๆ เพื่อสร้างความสนุกสนาน ให้แขกที่เข้ามาร่วมงาน งานแต่งงาน งานเลี้ยงรับรองแขกบ้านแขกเมือง ซึ่งข้อดีของการเต้นลักษณะแบบนี้ คือ การทำให้แขกทั้งหลายมีความรู้สึกสนุกสนาน และมีความเป็นกันเองมากขึ้น แถมยังช่วยย่อยอาหารได้ดี และเป็นท่าเต้นออกกำลังกายที่ดีอีกด้วย
ชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ตำบลฉลุง และพื้นที่ใกล้เคียง จึงได้ปรึกษาหารือถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลฉลุงได้มีเวลาในการออกกำลังกายเพื่อดูแลสุขภาพของตนเอง จึงเห็นควรให้มีการจัดกิจกรรมในการเต้นบาสโลบ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่คิดว่าประชาชนทุกวัยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ และสามารถใช้เวลาว่างหลังเลิกงานในการจัดทำกิจกรรม โดยคิดว่าผลจากการออกกำลังกายจะทำให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อีกทั้งยังสามารถสร้างความสามัคคีและความผูกพันของคนในชุมชนได้ รวมถึงการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้ประชาชนในประเทศเพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของประชาชน ต่อไป
เทศบาลตำบลฉลุง ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายแบบบาสโลบ จึงได้ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นชมรมและมีการออกกำลังกายแบบบาสโลบขึ้น ในวันจันทร์–ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 17.00 - 18.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ข้างวัดดุลยารามตำบลฉลุง มาเป็นระยะเวลา 7 ปี ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม จำนวน 29 คน สมาชิกชมรมมีทั้งคนในเขตเทศบาลตำบลฉลุงและพื้นที่ใกล้เคียง จากการดำเนินงานของชมรม พบว่าสมาชิกชมรมส่วนใหญ่มาออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จึงจำเป็นต้องส่งเสริม สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พร้อม ๆ กับการออกกำลังกายอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลต่อร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ และจากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการบาสโลบยามเย็นบ้านจีน วิธีส่งเสริมสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะมีความรู้นำไปซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้สมาชิกมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง และสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
- กิจกรรมวันแรกของการอบรม
- กิจกรรมวันที่สองของการอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม นำความรู้ ทักษะในการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
2. สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรมมีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อลดการบาดเจ็บได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมวันแรกของการอบรม
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
- อบรมความรู้ทั่วไปในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
- อบรมเชิงปฏิบัติโดยการสอนรำ 1 เพลง สอนเต้น 1 เพลง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
25
0
2. กิจกรรมวันที่สองของการอบรม
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
- อบรมเชิงปฏิบัติให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
-อบรมเชิงปฏิบัติโดยการสอนรำ 1 เพลง สอนเต้น 1 เพลง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
25
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ส่วนที่ 3 : แบบรายงานผลการดำเนินโครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2568 (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ)
ผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 25 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 112
1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
การเต้นจังหวะบาสโลบ(Paslop) เป็นของประเทศลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากฝรั่งเศส เนื่องจากในอดีต สปป.ลาว เป็นเมืองในอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศสมาก่อน จึงยังคงหลงเหลือวัฒนธรรมบางอย่างจากฝรั่งเศสให้เห็นอยู่ คนลาวนิยมเต้นเวลาออกงานสังคม เช่นงานเลี้ยงสังสรรค์ งานแต่งงาน รวมไปถึงงานเลี้ยงรับรองที่เป็นทางการ ใช้ต้อนรับแขกระดับประเทศที่สำคัญๆ เวลาเต้นจะตั้งเป็นแถวหน้ากระดานหรือเป็นแถวตอน หากมีผู้เต้นจำนวนหลายๆคน มีหนึ่งแถวหรือมากกว่าก็ได้ สิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจนคือทุกคนจะเต้นเป็นจังหวะอย่างพร้อมเพรียงกัน ขยับไปซ้ายที ขวาที มีการแตะเท้าเป็นจังหวะตามเพลง หมุนวนไปทั้ง 4 ทิศ และด้วยลักษณะการเต้นที่มีการโยกย้ายร่างกายทุกส่วนเช่นนี้ ดูมีเสน่ห์และสวยงามมาก
ในโอกาสที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านรวม10ประเทศ จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในเดือนธันวาคม 2558 เราต้องศึกษาประเพณีวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านให้เข้าใจ เมื่อเรามีโอกาสประสานสัมพันธ์เข้ากับสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้อย่างสนิทแนบแน่นยิ่งขึ้น ซึ่งจะเกิดผลดีต่อหน้าที่การงานและความสัมพันธ์ระหว่างกัน สำหรับประเทศลาวมีประเพณี วัฒนธรรมคล้ายคลึงกับประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษา การแต่งกาย การละเล่น การนับถือศาสนา อาหาร
ต่อมาเมื่อบาสโลบได้เข้ามาแพร่หลายในประเทศไทย จึงได้มีการพัฒนาดัดแปลงโดยใช้ท่าแอโรบิค ลีลาศ มวยไทย ใช้ท่าฟ้อนของภาคเหนือ รำซิ่งของอีสาน หรือแม้กระทั่งการนำท่ารำมโนห์ราของภาคใต้เข้ามาประยุกต์ เป็นท่าเต้น
ประโยชน์ของการเต้นบาสโลบ
การเต้นบาสโลบออกกำลังกาย ดีอย่างไร ทำให้ร่างกายยืดหยุ่นมากขึ้น เมื่อขยับร่างกายไปตามจังหวะเสียงเพลงยังช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดหรืออักเสบของข้อต่อได้ มีส่วนช่วยในการลดน้ำหนัก การเต้นคล้ายๆ แอโรบิค หรือการเต้นที่ได้ขยับทุกส่วนในร่างกายอย่างการเต้นบาสโลบก็มีส่วนช่วยในการลดน้ำหนักได้เช่นกัน
การเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุ เพราะการออกกำลังกายในผู้สูงวัยไม่เหมือนกับคนวัยอื่นๆ ด้วยสุขภาพและสรีระร่างกายที่ไม่ได้คล่องแคล่วเหมือนเมื่อก่อน ทั้งยังต้องคำนึงถึงการออกกำลังกายให้ถูกหลักต้องระมัดระวังในเรื่องการหกล้มหรืออาการบาดเจ็บมากกว่าคนวัยอื่น จึงมีความจำเป็นอย่างมากที่จะต้องใส่ใจและการเลือกการออกกำลังกายให้เหมาะสมมากๆ และการเต้นบาสโลบ จึงถูกนำมาประยุกต์ใช้สำหรับออกกำลังกายมากขึ้นในวัยผู้สูงอายุ เพราะ การเต้นประเภทนี้ เป็นการขยับร่างกายอย่างช้า ๆ ตามจังหวะเสียงเพลงอย่างเพลิดเพลินที่ทั้งสนุกและได้ประโยชน์
สุขภาพสมองดีขึ้น เพราะการออกกำลังกายด้วยการเต้นต้องใช้สมองในการจดจำท่าเต้น มีผลต่อการกระตุ้นความจำ ทั้งยังป้องกันความเสี่ยงของโรคสมองเสื่อม หรืออัลไซเมอร์ การเต้นบาสโลบก็มีท่าทางรวมถึงการนับจังหวะให้ได้จดจำจึงถือเป็นการกระตุ้นการทำงานของสมองไปในตัว
ทำให้ร่างกายยืดหยุ่นมากขึ้น เมื่อขยับร่างกายไปตามจังหวะเสียงเพลงยังช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดหรืออักเสบของข้อต่อได้
มีส่วนช่วยในการลดน้ำหนัก การเต้นคล้าย ๆ แอโรบิค หรือการเต้นที่ได้ขยับทุกส่วนในร่างกายอย่างการเต้นบาสโลบก็มีส่วนช่วยให้น้ำหนักลดลงได้เช่นกัน
เต้นลดความเครียด มีงานวิจัยว่าการออกกำลังกายด้วยการเต้นพร้อมกับจังหวะเสียงเพลงนั้นจะช่วยลดความเครียดและทำให้อารมณ์ดีขึ้นได้
ดีต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด เพราะยิ่งขยับร่างกายเร็วจะยิ่งทำให้หัวใจได้ออกกำลังให้แข็งแรงขึ้นตามไปด้วย
ข้อดีของการเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุ
การเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุได้ประโยชน์มากมายดังนี้
*ออกกำลังกายได้ทุกส่วน การเต้นบาสโลบ จะได้ออกสเต็ปตามจังหวะเพลงในทุกส่วนของร่างกาย ทั้งแขน ขา เอว สะโพก และเท้า
*ระหว่างการเต้นร่างกายจะหลั่งสารบางอย่างที่ช่วยให้ระบบการย่อยอาหารดีขึ้น
*การเต้นบาสโลบช่วยให้ผ่อนคลายความตึงเครียด ทำให้รู้สึกสนุกสนานและอารมณ์ดีอีกด้วย
*ลดความเสี่ยงต่ออาการบาดเจ็บน้อยกว่าการออกกำลังกายรูปแบบอื่น
*ช่วยเรื่องการทรงตัวและเสริมความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ
*ฝึกสมอง ฝึกสมาธิ เพราะการเต้นไปตามจังหวะเพลงจะมีการนับการก้าว จดจำท่าทางต่าง ๆ ถือเป็นการบริหารสมอง และฝึกสมาธิให้กับผู้สูงอายุได้ด้วย
*ได้พบปะเพื่อนฝูงและคนหมู่มาก เนื่องจากการเต้นบาสโลบนี้มักจะทำกันเป็นหมู่คณะกับคนเป็นจำนวนมาก หลายพื้นที่จัดให้เป็นกิจกรรมประจำสัปดาห์ มีการประกวดแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องท่าเต้น รวมไปถึงเครื่องแต่งกายเพื่อเพิ่มความสนุกสนานให้ผู้ร่วมกิจกรรม
สรุป การเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุถือเป็นหนึ่งในทางเลือกการออกกำลังกายที่เหมาะอย่างมากกับผู้สูงวัย เพราะได้ประโยชน์หลายอย่างเป็นการออกกำลังกายด้วยความสนุกสนานผ่อนคลาย ท่าเต้นไม่ยาก เรียนรู้และฝึกฝนได้ง่าย สร้างความสุขและได้สุขภาพดีไปในเวลาเดียวกัน
ก่อนการออกกำลังกาย ต้องตรวจสอบความพร้อม เพื่อป้องกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นได้ ดังต่อไปนี้
- ตรวจสอบโครงสร้างของร่างกาย การที่ผู้เต้นมีน้ำหนักมากสภาพร่างกายทางกระดูกและกล้ามเนื้อมีปัญหา เช่น การผิดรูปของเท้า และการขาดความสมดุลของกล้ามเนื้อ เมื่อเต้นแล้วต้องมีการรับน้ำหนักตัว และแรงกระแทก อาจทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ข้อเข่าและข้อเท้าได้
- ตรวจสอบความพร้อมของร่างกาย หากไม่สบายเป็นไข้ นอนหมดแรง มีการบาดเจ็บทางกล้ามเนื้อ กระดูกตามบริเวณต่าง ๆ หรือการพักผ่อนไม่เพียงพอ ก็ควรรักษาร่างกายให้แข็งแรงก่อน หรือแม้แต่การมีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคหอบหืด ผู้เต้นควรแจ้งครูผู้สอนหรือผู้นำ หรือกระทั่งเพื่อน ๆ สมาชิก เพื่อจะได้ช่วยกันเฝ้าสังเกตอาการ
- เทคนิคการเต้นและการออกแรง เนื่องจากการเต้นจะใช้การเคลื่อนไหวในทุกส่วนของร่างกายและทุกทิศทาง ทั้งผู้นำเต้นและผู้เต้นควรมีการพิจารณาถึงความฟิตความสามารถในการเคลื่อนไหวของตนเอง และควรหลีกเลี่ยงท่าเต้นที่มีผลต่อตัวผู้เต้นเอง
- ระยะเวลาในการเต้นให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย อย่างน้อย 30 นาที ส่วนความถี่ในการเต้นก็แล้วแต่สะดวก แต่หากมีการบาดเจ็บบริเวณใดควรงดท่าเต้นที่ใช้กล้ามเนื้อบริเวณนั้น ๆ หรืองดการเต้นไปสักพักจนกล้ามเนื้อแข็งแรงก่อน
- อย่าลืมว่าก่อนเต้นต้องมีการอบอุ่นร่างกายโดยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อให้เต็มที่ในทุกส่วนของร่างกายก่อนเสมอ จะช่วยทำให้กล้ามเนื้อที่ตึงตัวอยู่นั้นอ่อนตัวลง ช่วยลดการฉีกขาดของกล้ามเนื้อเอ็น และเนื้อเยื่อต่าง ๆ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระดูกและกล้ามเนื้ออีกด้วย
- เลือกเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมเสื้อผ้าต้องกระชับกับรูปร่างตนเอง ไม่รุ่มร่ามจนทำให้เกิดอุบัติเหตุขณะเต้นได้ ส่วนรองเท้าควรเลือกสวมรองเท้าที่มีชั้นรองเท้ารองรอบเท้าเพื่อลดการกระแทกและควรมีขนาดได้สัดส่วนกับเท้าของตนเอง จะช่วยลดการบาดเจ็บที่เกิดจากการกระแทกของข้อเข่า ข้อเท้าและข้อสะโพกได้
- เลือกพื้นที่บริเวณที่จะใช้เต้น ควรเป็นพื้นที่ความยืดหยุ่นและไม่ลื่น เพราะจะช่วยให้เกิดความมั่นคงในการเคลื่อนไหว หากสถานที่เต้นเป็นพื้น คอนกรีตจะเกิดแรงกระแทกได้ง่าย ผู้เต้นต้องรู้จักการป้องกันตนเอง ลดแรงกระแทกของข้อต่อ ขณะเคลื่อนไหวด้วยการย่อเข่าและเรียนรู้ท่าเต้นที่ถูกต้อง หากเป็นพื้นพรม หรือสนามหญ้าจะมีความหนืดในการเคลื่อนไหว เสี่ยงต่อการสะดุดเท้าตนเองได้
- หลังจากการออกกำลังกายควรมีการยืดเหยียด เพื่อช่วยในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ช่วยลดอาการตึง เกร็งของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอันตรายที่อาจจะเกิดกับกระดูกสันหลัง
เทคนิค ในการเต้นให้ดูน่ามอง
- เทคนิคการใช้สะโพก
- เทคนิคการลงน้ำหนัก (เท้าเป็น เท้าตาย)
- เทคนิคการหมุน
- เทคนิคการใช้ร่างกายในการสื่อสาร(อินเนอร์)
กฎการเต้นบาสโลบ (ให้น่ามอง)
- ไม่ก้มหน้าเต้น
- ไม่ปล่อยมือเต้น
- แถวต้องตรง
ความรู้สึกของผู้เต้น(อินเนอร์)
จากแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรมความรู้ มีคำถามทั้งหมด 5 ข้อ มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 28 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้
คะแนน ก่อนการอบรม (คน) ร้อยละ หลังการอบรม (คน) ร้อยละ
0 1 4 0 0
1 14 50 0 0
2 13 46 0 0
3 0 0 0 0
4 0 0 0 0
5 0 0 28 100
รวม 28 100 28 100
ดังนั้น จากแบบทดสอบความรู้จะเห็นได้ว่าสมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการเต้นบาสโลบ และนำมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ ร้อยละ 80
จากการอบรมพร้อมการฝึกปฎิบัติเพิ่มทักษะการเต้น และการรำสมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะเพิ่มขึ้น และสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้องร้อยละ 80
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการ 28 คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 15,240.00 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 15,240.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน - บาท คิดเป็นร้อยละ -
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบอย่างถูกต้องร้อยละ 80
- ประเมินโดยแบบทดสอบความรู้
80.00
100.00
สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบอย่างถูกต้อง
2
เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะ อย่างถูกต้องร้อยละ 80
- ประเมินจากการสาธิตย้อนกลับ
80.00
100.00
สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะ อย่างถูกต้อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
28
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
23
กลุ่มผู้สูงอายุ
5
5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมวันแรกของการอบรม (3) กิจกรรมวันที่สองของการอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิต กั่วพานิช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางจิต กั่วพานิช
กุมภาพันธ์ 2568
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทย มีความคุ้นเคยกับคำว่า “ออกกำลังกาย” มายาวนาน โดยนิยามของการออกกำลังกาย คือการกระทำใด ๆ ที่ทำให้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย แบบซ้ำ ๆ มีการวางแผนเป็นแบบแผนและมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน เพื่อสังคม โดยใช้กิจกรรมง่าย ๆ หรือกติกาการแข่งขันง่าย ๆ เช่น การเดิน การวิ่ง การเต้น ฯลฯ และในปัจจุบันประเทศไทยได้สนับสนุนการออกกำลังกายโดยการจัดกิจกรรมทางกาย ที่กว้างขว้างกว่าการออกกำลังกาย กล่าวคือ การขยับร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ในอิริยาบถต่าง ๆ ซึ่งก่อการใช้และการเผาผลาญพลังงานและเสริมสร้างกล้ามเนื้อ ชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีนจึงมีแนวคิดที่จะจัดการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ซึ่งบาสโลบเป็นของประเทศลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากฝรั่งเศส เนื่องจากในอดีต สปป.ลาว เป็นเมืองในอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศสมาก่อน จึงยังคงหลงเหลือวัฒนธรรมบางอย่างจากฝรั่งเศสให้เห็นอยู่ ในโอกาสที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านรวม 10 ประเทศ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน เราต้องศึกษาประเพณีวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านให้เข้าใจ เมื่อเรามีโอกาสประสานสัมพันธ์เข้ากับสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้อย่างสนิทแนบแน่นยิ่งขึ้น ซึ่งจะเกิดผลดีต่อหน้าที่การงานและความสัมพันธ์ระหว่างกัน สำหรับประเทศลาวมีประเพณี วัฒนธรรมคล้ายคลึงกับประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษา การแต่งกาย การละเล่น การนับถือศาสนา อาหาร ต่อมาเมื่อบาสโลบได้เข้ามาแพร่หลายในประเทศไทย จึงได้มีการพัฒนาดัดแปลงโดยใช้ท่าแอโรบิค ลีลาศ มวยไทย ใช้ท่าฟ้อนของภาคเหนือ รำเซิ้งของอีสาน หรือแม้กระทั่งการนำท่ารำมโนห์ราของภาคใต้เข้ามาประยุกต์ เป็นท่าเต้น จึงถือว่าเป็นการเต้นที่เป็นเอกลักษณ์ ที่มีการสร้างสรรค์ท่าเต้น ให้เข้ากับยุคสมัยและวัฒนธรรมประเพณีดีงาม การเต้น หรือ Paslop ทุกคนจะยืนตั้งแถวเป็นหน้ากระดาน หรือแถวตอน มีหนึ่งแถวหรือมากกว่าก็ได้ สิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน คือ ทุกคนจะเต้นเป็นจังหวะ อย่างพร้อมเพียงกัน ขยับไปซ้ายที ขวาที มีการแตะเท้าเป็นจังหวะตามเพลง หมุนวนไปทั้ง 4 ทิศ จะเห็นการเต้นในงานรื่นเริงต่าง ๆ เพื่อสร้างความสนุกสนาน ให้แขกที่เข้ามาร่วมงาน งานแต่งงาน งานเลี้ยงรับรองแขกบ้านแขกเมือง ซึ่งข้อดีของการเต้นลักษณะแบบนี้ คือ การทำให้แขกทั้งหลายมีความรู้สึกสนุกสนาน และมีความเป็นกันเองมากขึ้น แถมยังช่วยย่อยอาหารได้ดี และเป็นท่าเต้นออกกำลังกายที่ดีอีกด้วย
ชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ตำบลฉลุง และพื้นที่ใกล้เคียง จึงได้ปรึกษาหารือถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลฉลุงได้มีเวลาในการออกกำลังกายเพื่อดูแลสุขภาพของตนเอง จึงเห็นควรให้มีการจัดกิจกรรมในการเต้นบาสโลบ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่คิดว่าประชาชนทุกวัยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ และสามารถใช้เวลาว่างหลังเลิกงานในการจัดทำกิจกรรม โดยคิดว่าผลจากการออกกำลังกายจะทำให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อีกทั้งยังสามารถสร้างความสามัคคีและความผูกพันของคนในชุมชนได้ รวมถึงการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้ประชาชนในประเทศเพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของประชาชน ต่อไป
เทศบาลตำบลฉลุง ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายแบบบาสโลบ จึงได้ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นชมรมและมีการออกกำลังกายแบบบาสโลบขึ้น ในวันจันทร์–ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 17.00 - 18.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์ข้างวัดดุลยารามตำบลฉลุง มาเป็นระยะเวลา 7 ปี ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม จำนวน 29 คน สมาชิกชมรมมีทั้งคนในเขตเทศบาลตำบลฉลุงและพื้นที่ใกล้เคียง จากการดำเนินงานของชมรม พบว่าสมาชิกชมรมส่วนใหญ่มาออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จึงจำเป็นต้องส่งเสริม สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พร้อม ๆ กับการออกกำลังกายอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลต่อร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ และจากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการบาสโลบยามเย็นบ้านจีน วิธีส่งเสริมสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะมีความรู้นำไปซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้สมาชิกมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง และสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
- กิจกรรมวันแรกของการอบรม
- กิจกรรมวันที่สองของการอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 5 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม นำความรู้ ทักษะในการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
2. สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรมมีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อลดการบาดเจ็บได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมวันแรกของการอบรม |
||
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ - อบรมความรู้ทั่วไปในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง - อบรมเชิงปฏิบัติโดยการสอนรำ 1 เพลง สอนเต้น 1 เพลง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
|
25 | 0 |
2. กิจกรรมวันที่สองของการอบรม |
||
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ - อบรมเชิงปฏิบัติให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ -อบรมเชิงปฏิบัติโดยการสอนรำ 1 เพลง สอนเต้น 1 เพลง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
|
25 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ส่วนที่ 3 : แบบรายงานผลการดำเนินโครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2568 (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ)
ผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 25 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 112 1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
การเต้นจังหวะบาสโลบ(Paslop) เป็นของประเทศลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากฝรั่งเศส เนื่องจากในอดีต สปป.ลาว เป็นเมืองในอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศสมาก่อน จึงยังคงหลงเหลือวัฒนธรรมบางอย่างจากฝรั่งเศสให้เห็นอยู่ คนลาวนิยมเต้นเวลาออกงานสังคม เช่นงานเลี้ยงสังสรรค์ งานแต่งงาน รวมไปถึงงานเลี้ยงรับรองที่เป็นทางการ ใช้ต้อนรับแขกระดับประเทศที่สำคัญๆ เวลาเต้นจะตั้งเป็นแถวหน้ากระดานหรือเป็นแถวตอน หากมีผู้เต้นจำนวนหลายๆคน มีหนึ่งแถวหรือมากกว่าก็ได้ สิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจนคือทุกคนจะเต้นเป็นจังหวะอย่างพร้อมเพรียงกัน ขยับไปซ้ายที ขวาที มีการแตะเท้าเป็นจังหวะตามเพลง หมุนวนไปทั้ง 4 ทิศ และด้วยลักษณะการเต้นที่มีการโยกย้ายร่างกายทุกส่วนเช่นนี้ ดูมีเสน่ห์และสวยงามมาก ในโอกาสที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านรวม10ประเทศ จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในเดือนธันวาคม 2558 เราต้องศึกษาประเพณีวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านให้เข้าใจ เมื่อเรามีโอกาสประสานสัมพันธ์เข้ากับสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้อย่างสนิทแนบแน่นยิ่งขึ้น ซึ่งจะเกิดผลดีต่อหน้าที่การงานและความสัมพันธ์ระหว่างกัน สำหรับประเทศลาวมีประเพณี วัฒนธรรมคล้ายคลึงกับประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษา การแต่งกาย การละเล่น การนับถือศาสนา อาหาร ต่อมาเมื่อบาสโลบได้เข้ามาแพร่หลายในประเทศไทย จึงได้มีการพัฒนาดัดแปลงโดยใช้ท่าแอโรบิค ลีลาศ มวยไทย ใช้ท่าฟ้อนของภาคเหนือ รำซิ่งของอีสาน หรือแม้กระทั่งการนำท่ารำมโนห์ราของภาคใต้เข้ามาประยุกต์ เป็นท่าเต้น
ประโยชน์ของการเต้นบาสโลบ
การเต้นบาสโลบออกกำลังกาย ดีอย่างไร ทำให้ร่างกายยืดหยุ่นมากขึ้น เมื่อขยับร่างกายไปตามจังหวะเสียงเพลงยังช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดหรืออักเสบของข้อต่อได้ มีส่วนช่วยในการลดน้ำหนัก การเต้นคล้ายๆ แอโรบิค หรือการเต้นที่ได้ขยับทุกส่วนในร่างกายอย่างการเต้นบาสโลบก็มีส่วนช่วยในการลดน้ำหนักได้เช่นกัน การเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุ เพราะการออกกำลังกายในผู้สูงวัยไม่เหมือนกับคนวัยอื่นๆ ด้วยสุขภาพและสรีระร่างกายที่ไม่ได้คล่องแคล่วเหมือนเมื่อก่อน ทั้งยังต้องคำนึงถึงการออกกำลังกายให้ถูกหลักต้องระมัดระวังในเรื่องการหกล้มหรืออาการบาดเจ็บมากกว่าคนวัยอื่น จึงมีความจำเป็นอย่างมากที่จะต้องใส่ใจและการเลือกการออกกำลังกายให้เหมาะสมมากๆ และการเต้นบาสโลบ จึงถูกนำมาประยุกต์ใช้สำหรับออกกำลังกายมากขึ้นในวัยผู้สูงอายุ เพราะ การเต้นประเภทนี้ เป็นการขยับร่างกายอย่างช้า ๆ ตามจังหวะเสียงเพลงอย่างเพลิดเพลินที่ทั้งสนุกและได้ประโยชน์ สุขภาพสมองดีขึ้น เพราะการออกกำลังกายด้วยการเต้นต้องใช้สมองในการจดจำท่าเต้น มีผลต่อการกระตุ้นความจำ ทั้งยังป้องกันความเสี่ยงของโรคสมองเสื่อม หรืออัลไซเมอร์ การเต้นบาสโลบก็มีท่าทางรวมถึงการนับจังหวะให้ได้จดจำจึงถือเป็นการกระตุ้นการทำงานของสมองไปในตัว ทำให้ร่างกายยืดหยุ่นมากขึ้น เมื่อขยับร่างกายไปตามจังหวะเสียงเพลงยังช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดหรืออักเสบของข้อต่อได้ มีส่วนช่วยในการลดน้ำหนัก การเต้นคล้าย ๆ แอโรบิค หรือการเต้นที่ได้ขยับทุกส่วนในร่างกายอย่างการเต้นบาสโลบก็มีส่วนช่วยให้น้ำหนักลดลงได้เช่นกัน เต้นลดความเครียด มีงานวิจัยว่าการออกกำลังกายด้วยการเต้นพร้อมกับจังหวะเสียงเพลงนั้นจะช่วยลดความเครียดและทำให้อารมณ์ดีขึ้นได้ ดีต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด เพราะยิ่งขยับร่างกายเร็วจะยิ่งทำให้หัวใจได้ออกกำลังให้แข็งแรงขึ้นตามไปด้วยข้อดีของการเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุ
การเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุได้ประโยชน์มากมายดังนี้ *ออกกำลังกายได้ทุกส่วน การเต้นบาสโลบ จะได้ออกสเต็ปตามจังหวะเพลงในทุกส่วนของร่างกาย ทั้งแขน ขา เอว สะโพก และเท้า *ระหว่างการเต้นร่างกายจะหลั่งสารบางอย่างที่ช่วยให้ระบบการย่อยอาหารดีขึ้น *การเต้นบาสโลบช่วยให้ผ่อนคลายความตึงเครียด ทำให้รู้สึกสนุกสนานและอารมณ์ดีอีกด้วย *ลดความเสี่ยงต่ออาการบาดเจ็บน้อยกว่าการออกกำลังกายรูปแบบอื่น *ช่วยเรื่องการทรงตัวและเสริมความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ *ฝึกสมอง ฝึกสมาธิ เพราะการเต้นไปตามจังหวะเพลงจะมีการนับการก้าว จดจำท่าทางต่าง ๆ ถือเป็นการบริหารสมอง และฝึกสมาธิให้กับผู้สูงอายุได้ด้วย *ได้พบปะเพื่อนฝูงและคนหมู่มาก เนื่องจากการเต้นบาสโลบนี้มักจะทำกันเป็นหมู่คณะกับคนเป็นจำนวนมาก หลายพื้นที่จัดให้เป็นกิจกรรมประจำสัปดาห์ มีการประกวดแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องท่าเต้น รวมไปถึงเครื่องแต่งกายเพื่อเพิ่มความสนุกสนานให้ผู้ร่วมกิจกรรม สรุป การเต้นบาสโลบในผู้สูงอายุถือเป็นหนึ่งในทางเลือกการออกกำลังกายที่เหมาะอย่างมากกับผู้สูงวัย เพราะได้ประโยชน์หลายอย่างเป็นการออกกำลังกายด้วยความสนุกสนานผ่อนคลาย ท่าเต้นไม่ยาก เรียนรู้และฝึกฝนได้ง่าย สร้างความสุขและได้สุขภาพดีไปในเวลาเดียวกัน ก่อนการออกกำลังกาย ต้องตรวจสอบความพร้อม เพื่อป้องกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นได้ ดังต่อไปนี้- ตรวจสอบโครงสร้างของร่างกาย การที่ผู้เต้นมีน้ำหนักมากสภาพร่างกายทางกระดูกและกล้ามเนื้อมีปัญหา เช่น การผิดรูปของเท้า และการขาดความสมดุลของกล้ามเนื้อ เมื่อเต้นแล้วต้องมีการรับน้ำหนักตัว และแรงกระแทก อาจทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ข้อเข่าและข้อเท้าได้
- ตรวจสอบความพร้อมของร่างกาย หากไม่สบายเป็นไข้ นอนหมดแรง มีการบาดเจ็บทางกล้ามเนื้อ กระดูกตามบริเวณต่าง ๆ หรือการพักผ่อนไม่เพียงพอ ก็ควรรักษาร่างกายให้แข็งแรงก่อน หรือแม้แต่การมีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคหอบหืด ผู้เต้นควรแจ้งครูผู้สอนหรือผู้นำ หรือกระทั่งเพื่อน ๆ สมาชิก เพื่อจะได้ช่วยกันเฝ้าสังเกตอาการ
- เทคนิคการเต้นและการออกแรง เนื่องจากการเต้นจะใช้การเคลื่อนไหวในทุกส่วนของร่างกายและทุกทิศทาง ทั้งผู้นำเต้นและผู้เต้นควรมีการพิจารณาถึงความฟิตความสามารถในการเคลื่อนไหวของตนเอง และควรหลีกเลี่ยงท่าเต้นที่มีผลต่อตัวผู้เต้นเอง
- ระยะเวลาในการเต้นให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย อย่างน้อย 30 นาที ส่วนความถี่ในการเต้นก็แล้วแต่สะดวก แต่หากมีการบาดเจ็บบริเวณใดควรงดท่าเต้นที่ใช้กล้ามเนื้อบริเวณนั้น ๆ หรืองดการเต้นไปสักพักจนกล้ามเนื้อแข็งแรงก่อน
- อย่าลืมว่าก่อนเต้นต้องมีการอบอุ่นร่างกายโดยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อให้เต็มที่ในทุกส่วนของร่างกายก่อนเสมอ จะช่วยทำให้กล้ามเนื้อที่ตึงตัวอยู่นั้นอ่อนตัวลง ช่วยลดการฉีกขาดของกล้ามเนื้อเอ็น และเนื้อเยื่อต่าง ๆ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระดูกและกล้ามเนื้ออีกด้วย
- เลือกเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมเสื้อผ้าต้องกระชับกับรูปร่างตนเอง ไม่รุ่มร่ามจนทำให้เกิดอุบัติเหตุขณะเต้นได้ ส่วนรองเท้าควรเลือกสวมรองเท้าที่มีชั้นรองเท้ารองรอบเท้าเพื่อลดการกระแทกและควรมีขนาดได้สัดส่วนกับเท้าของตนเอง จะช่วยลดการบาดเจ็บที่เกิดจากการกระแทกของข้อเข่า ข้อเท้าและข้อสะโพกได้
- เลือกพื้นที่บริเวณที่จะใช้เต้น ควรเป็นพื้นที่ความยืดหยุ่นและไม่ลื่น เพราะจะช่วยให้เกิดความมั่นคงในการเคลื่อนไหว หากสถานที่เต้นเป็นพื้น คอนกรีตจะเกิดแรงกระแทกได้ง่าย ผู้เต้นต้องรู้จักการป้องกันตนเอง ลดแรงกระแทกของข้อต่อ ขณะเคลื่อนไหวด้วยการย่อเข่าและเรียนรู้ท่าเต้นที่ถูกต้อง หากเป็นพื้นพรม หรือสนามหญ้าจะมีความหนืดในการเคลื่อนไหว เสี่ยงต่อการสะดุดเท้าตนเองได้
- หลังจากการออกกำลังกายควรมีการยืดเหยียด เพื่อช่วยในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ช่วยลดอาการตึง เกร็งของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอันตรายที่อาจจะเกิดกับกระดูกสันหลัง เทคนิค ในการเต้นให้ดูน่ามอง
- เทคนิคการใช้สะโพก
- เทคนิคการลงน้ำหนัก (เท้าเป็น เท้าตาย)
- เทคนิคการหมุน
- เทคนิคการใช้ร่างกายในการสื่อสาร(อินเนอร์) กฎการเต้นบาสโลบ (ให้น่ามอง)
- ไม่ก้มหน้าเต้น
- ไม่ปล่อยมือเต้น
- แถวต้องตรง
ความรู้สึกของผู้เต้น(อินเนอร์)
จากแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรมความรู้ มีคำถามทั้งหมด 5 ข้อ มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 28 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้
คะแนน ก่อนการอบรม (คน) ร้อยละ หลังการอบรม (คน) ร้อยละ 0 1 4 0 0 1 14 50 0 0 2 13 46 0 0 3 0 0 0 0 4 0 0 0 0 5 0 0 28 100 รวม 28 100 28 100ดังนั้น จากแบบทดสอบความรู้จะเห็นได้ว่าสมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการเต้นบาสโลบ และนำมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ ร้อยละ 80 จากการอบรมพร้อมการฝึกปฎิบัติเพิ่มทักษะการเต้น และการรำสมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะเพิ่มขึ้น และสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้องร้อยละ 80
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการ 28 คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 15,240.00 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 15,240.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน - บาท คิดเป็นร้อยละ -
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบอย่างถูกต้องร้อยละ 80 - ประเมินโดยแบบทดสอบความรู้ |
80.00 | 100.00 | สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบอย่างถูกต้อง |
|
2 | เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - ประเมินจากการสาธิตย้อนกลับ |
80.00 | 100.00 | สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะ อย่างถูกต้อง |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | 28 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | 23 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 5 | 5 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเต้นบาสโลบมาปรับใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อเพิ่มศักยภาพและส่งเสริม สมาชิกชมรมบาสโลบยามเย็นบ้านจีน เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างถูกต้อง ตามแบบของบาสโลบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมวันแรกของการอบรม (3) กิจกรรมวันที่สองของการอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีมาขยับแข้ง ขยับขา กับพวกเราบาสโลบยามเย็นบ้านจีน ปี 2 ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68– L7580-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิต กั่วพานิช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......