directions_run
โครงการสมุนไพร สร้างเสริมสุขภาพ ผู้สูงวัยใจเต็มสุข ประจําปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการสมุนไพร สร้างเสริมสุขภาพ ผู้สูงวัยใจเต็มสุข ประจําปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | L5203-03-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลปลักหนู |
วันที่อนุมัติ | 27 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2567 - 31 มีนาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 70,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางกาญจนา สุวรรณมณี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอรรถพล ศรีประมวล |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ปัญหาสำคัญของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นปัญหาเรื่องสุขภาพ ปัญหาเรื่องความเสื่อมของร่างกาย มีปัญหาเรื่องโรคภัยไข้เจ็บและภาวะต้องพึ่งพึ่งผู้อื่นสูงขึ้น ทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม ภาวะเศรษฐกิจ การจ้างงานตลอดจนโครงสร้างของปัญหาเรื้อรัง และระบบบริการต่าง | 100.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑) เพื่อส่งเสริมการให้ความรู้ และการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน ทั้งใน รูปแบบสมุนไพรตั้งเดิม รูปแบบอาหาร และรูปแบบสมุนไพรแปรรูป ให้ผู้สูงอายุได้ใช้สมุนไพรอย่างถูกต้องรวมถึงการตระหนักและเห็นคุณค่าของการใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพตนเอง ๒) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพที่เหมาะสม ส่งเสริมการรวมกลุ่ม การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ภายใต้บริบทของสังคมผู้สูงอายุในตำบล ๓) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมต่อยอดการสร้างเสริมสุขภาพสู่การสร้างเสริมรายได้ให้กับผู้สูงอายุ ๔) เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน 1 ผู้สูงอายุมีความรู้ และสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบสมุนไพรตั้งเดิม รูปแบบอาหาร และรูปแบบสมุนไพรแปรรูป 2 ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพที่เหมาะสม เกิดการรวมกลุ่ม และการใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ ภายใต้บริบทของสังคมผู้สูงอายุในตำบล 3 เกิดการต่อยออการสร้างเสริมสุขภาพสู่การสร้างเสริมรายใต้ให้กับผู้สูงอายุ 4 เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ อย่างยั่งยืน |
100.00 | 0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 70,000.00 | 0 | 0.00 | 70,000.00 | |
1 ธ.ค. 67 - 31 มี.ค. 68 | โครงการสมุนไพร สร้างเสริมสุข ผู้สูงวัยใจเต็มสุข ประจําปีงบประมาณ 2568 | 0 | 70,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 70,000.00 | 0 | 0.00 | 70,000.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2568 11:25 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ