กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสมุนไพร สร้างเสริมสุขภาพ ผู้สูงวัยใจเต็มสุข ประจําปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุปลักหนู

ป้อม ชรบ. หมู่ที่2 ตําบลปลักหนู อําเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัญหาสำคัญของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นปัญหาเรื่องสุขภาพ ปัญหาเรื่องความเสื่อมของร่างกาย มีปัญหาเรื่องโรคภัยไข้เจ็บและภาวะต้องพึ่งพึ่งผู้อื่นสูงขึ้น ทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม ภาวะเศรษฐกิจ การจ้างงานตลอดจนโครงสร้างของปัญหาเรื้อรัง และระบบบริการต่าง

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑) เพื่อส่งเสริมการให้ความรู้ และการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน ทั้งใน รูปแบบสมุนไพรตั้งเดิม รูปแบบอาหาร และรูปแบบสมุนไพรแปรรูป ให้ผู้สูงอายุได้ใช้สมุนไพรอย่างถูกต้องรวมถึงการตระหนักและเห็นคุณค่าของการใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพตนเอง ๒) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพที่เหมาะสม ส่งเสริมการรวมกลุ่ม การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ภายใต้บริบทของสังคมผู้สูงอายุในตำบล ๓) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมต่อยอดการสร้างเสริมสุขภาพสู่การสร้างเสริมรายได้ให้กับผู้สูงอายุ ๔) เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน

1 ผู้สูงอายุมีความรู้ และสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบสมุนไพรตั้งเดิม รูปแบบอาหาร และรูปแบบสมุนไพรแปรรูป 2 ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพที่เหมาะสม เกิดการรวมกลุ่ม และการใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ ภายใต้บริบทของสังคมผู้สูงอายุในตำบล 3 เกิดการต่อยออการสร้างเสริมสุขภาพสู่การสร้างเสริมรายใต้ให้กับผู้สูงอายุ 4 เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ อย่างยั่งยืน

100.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2024

กำหนดเสร็จ 31/03/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการสมุนไพร สร้างเสริมสุข ผู้สูงวัยใจเต็มสุข ประจําปีงบประมาณ 2568

ชื่อกิจกรรม
โครงการสมุนไพร สร้างเสริมสุข ผู้สูงวัยใจเต็มสุข ประจําปีงบประมาณ 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑ ค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์            เป็นเงิน           50,000.-   บาท     - ค่าจัดเตรียมสถานที่ในการทำสวนสมุนไพร          เป็นเงิน        31,500      บาท     สำหรับปลูกสมุนไพร พืชผักสวนครัวและผักปลอดสารพิษ อาทิ โครงไม้ไผ่ สแลนกรองแสง ผ้ายางพลาสติกใส    กล่อง/ชั้นวางสำหรับปลูก เป็นต้น     - ค่าจัดซื้อเมล็ดพันธุ์/ต้นกล้าสมุนไพรพืชผักสวนครัว        เป็นเงิน          3,000      บาท     - ค่าจัดซื้อดินปลูก ถุงละ ๓๕ บาท จำนวน 2๐๐ ถุง          เป็นเงิน              7,000      บาท     - ค่าจัดซื้อปุ๋ย ถุงละ ๒๕ บาท จำนวน ๕๐ ถุง          เป็นเงิน                 1,250      บาท     - ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็น                    เป็นเงิน              3,000      บาท     อาทิ วัสดุการเกษตร มีด กรรไกร จอบพรวน ถุงชำ กระถาง เป็นต้น     - ค่าป้ายโครงการ     ป้ายอะคริลิกขนาดไม่น้อยกว่า ๐.๘๐"๑,๒๐ เมตร          เป็นเงิน           4,250     บาท ๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการอบรมเชิงปฏิบัติการ   ๑    วัน        เป็นเงิน           20,000.-    บาท     - ค่าอาหารกลางวัน (๕๐ คน * ๖๐ บาท * ๑ มื้อ)                        เป็นเงิน              3,000     บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (๕๐ คน * ๓๐ บาท  * ๒ มื้อ    เป็นเงิน              3,000       บาท     - ค่าวิทยากร (๑ คน * ๖ ชม. " ๖๐๐ บาท)                                เป็นเงิน        3,600       บาท     - ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับฝึกอบรม                                            เป็นเงิน             9,800      บาท -6-     วัสดุอุปกรณ์สาธิตการทำลูกประคบสมุนไพร อาทิ พิมเสม การบูร  เมนทอล ไพลสด ขมิ้นขันสด ชมิ้นอ้อย         ผ้าดิบ ด้ายดิบ ถุงบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น     ค่าป้ายประขาสัมพันธ์ จำนวน ๑ ป้าย                                       เป็นเงิน                  600      บาท                  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  จำนวน 70,000-บาท  (เงินเจ็ดหมื่นบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้สูงอายุมีความรู้ และสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบสมุนไพรตั้งเดิม รูปแบบอาหาร และรูปแบบสมุนไพรแปรรูป 2 ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพที่เหมาะสม เกิดการรวมกลุ่ม และการใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ ภายใต้บริบทของสังคมผู้สูงอายุในตำบล 3 เกิดการต่อยออการสร้างเสริมสุขภาพสู่การสร้างเสริมรายใต้ให้กับผู้สูงอายุ 4 เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ อย่างยั่งยืน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
70000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 70,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>