กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในพื้่นที่บ้านป่าเล ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายปราณี บัวนุ่ม




ชื่อโครงการ โครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในพื้่นที่บ้านป่าเล

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3311-2-16 เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 พฤศจิกายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในพื้่นที่บ้านป่าเล จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในพื้่นที่บ้านป่าเล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในพื้่นที่บ้านป่าเล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3311-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 พฤศจิกายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,505.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

……การดื่มสุราหรือเหล้าเป็นปัญหาสำคัญที่แฝงอยู่กับประเพณีและวัฒนธรรมของพื้นที่มานานจนก่อให้เกิดค่านิยมการดื่มเหล้าในโอกาสต่างๆ เช่นปีใหม่ สงกรานต์ ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน งานบวชงานกฐิน หรือผ้าป่า รวมถึงงานศพ ล้วนแล้วแต่มีการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทั้งสิ้น โดยเฉพาะงานศพเป็นงานที่พบว่ามีปริมาณการใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากในลำดับต้นๆ เนื่องจากงานศพเป็นงานที่เกิดขึ้นโดยที่เจ้าภาพไม่ได้ตั้งใจและไม่อยากให้เกิดขึ้นกับครอบครัว เมื่อเกิดขึ้นแล้วจำเป็นที่จะต้องจัดการตามประเพณี ซึ่งเจ้าภาพจะต้องจัดหาอาหารพร้อมเครื่องดื่ม เหล้า เบียร์ มาเลี้ยงแขกที่มาช่วยงาน บางคนเก็บศพไว้นานต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากพองานเสร็จ บางครอบครัวต้องติดหนี้ ยิ่งถ้าผู้เสียชีวิตเป็นผู้นำครอบครัวด้วยแล้ว ผู้อยู่เบื้องหลังต้องลำบากเดือดร้อน นำไปสู่ความยากจนและปัญหาสังคม สาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนในพื้นที่นิยมดื่มเหล้าในเทศกาลงานบุญต่างๆ จนแทบจะเป็นเรื่องปกติในวิถีชีวิตประจำวันนั่นก็คือ การมีเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ชนิดต่างๆวางจำหน่ายอยู่โดยทั่วไปและหาซื้อได้ง่ายโดยไม่รู้สึกว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพ ชีวิต และทรัพย์สิน สิ่งสำคัญที่ก่อปัญหาเช่นนี้คือสืบเนื่องมาจากประเพณี วัฒนธรรมและบริบทของสังคมเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประชาชนรู้สึกว่าการดื่มเหล้าเป็นเรื่องปกติในชีวิต โดยไม่ได้คิดถึงพิษภัยของการดื่มเหล้าที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพสร้างปัญหาด้านเศรษฐกิจให้กับครอบครัว นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดการเล่นการพนัน และนำพาไปสู่การเกิดปัญหาสังคมอื่นๆตามมา เช่นอุบัติเหตุจราจร การลักขโมย การทะเลาะวิวาท และความยากจน ประชาชนม.7 บ้านป่าเล ตำควนขนุน มีการดื่มเหล้ากันมาช้านานจากดื่มน้ำตาลเมา มาเป็นเหล้า , เหล้าขาว และเมื่อก่อนที่ดื่มจะเป็น ผู้ใหญ่วัยทำงานในปัจจุบันขยายวงกว้างมาถึงเด็กวัยรุ่น ทำให้เกิดผลเสียสุขภาพ ปัญหาสังคม จากปัญหาและผลเสียของการดื่มสุราดังกล่าว ทางชมรมคนหัวใจเพชรบ้านป่าเล เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นเพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไปลด ละเลิกการดื่มสุราและบุหรี่ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจ ซึ่งไม่เฉพาะร่างกายจิตใจของตนเองเท่านั้น แต่ยังทำให้สถาบันครอบครัวและสังคมเกิดความเข้มแข็ง โดยมุ่งเน้นกระตุ้น เตือนให้ประชาชน ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำไปสู่สุขภาพดี และสนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ มีการตัดสินใจที่ดี รวมถึงการจัดการตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง จากการทำโครงการในปี 2567 ปรากฏว่ามีผู้เข้าร่วมโครงการงดเหล้าเข้าพรรษาจำนวน 60 คน จึงได้เห็นความสำคัญที่จะทำโครงการนี้ต่อเพื่อชักชวนให้ประชาชน ที่ดื่มเหล้ามาเข้าโครงการเพิ่มขึ้น ต่อไปอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป
  3. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมประชุมเตรียมงานและวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ แต่ละครั้ง เพื่อ เตรียมงาน และ กำหนดวันสถานที่ในการจัดกิจกรรม 1.1 กิจกรรมประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรม คนหัวใจเพชรบ้านป่าเล 1.2 กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจผู้นำชุนชน และคณะทำงา
  2. 2. กิจกรรม อบรมเสริมพลังตับฟื้นพลังชีวิตและเวทีช่วยชมเชียร์งดเหล้า ระหว่างพรรษา 2.1 เรียนรู้การทำหัวเชื้อน้ำโพรไบโอติกจากขิง การทำผักดองโพรไบโอติก และน้ำผลไม้โพรไบโอติก โดยวิทยากร จากเครือข่ายงดเหล้าใต้ล่าง 2.2 เรียนรู้การทำสมุนไพรแช่เท้า
  3. 3. …กิจกรรม เวทีประชุมคืนข้อมูล ให้กับหน่วยงาน ชุมชน และเชิดชูเกียรติผู้งดเหล้าครบพรรษา 3.1 กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ -เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลดละเลิกเหล้าบุหรี่ -ร่วมรับประธานอาหารกลางวัน -มอบเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ ให้แก่ผู้งดเหล้า ครบพรรษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีพื้นที่ต้นแบบ 2.มีผู้ลงนามปฏิญาณตนงดเหล้าเข้าพรรษา จำนวน 60  คน
3.มีผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา จำนวน 60 คน อยู่ครบพรรษาจำนวน  60 คน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปัจจุบัน ทั้งดื่มประจำและครั้งคราว ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่ม เพิ่มขึ้นเป็น 60 คน

 

2 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)85 %

 

3 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ) 85 %

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (2) เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป (3) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมประชุมเตรียมงานและวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ แต่ละครั้ง เพื่อ เตรียมงาน และ กำหนดวันสถานที่ในการจัดกิจกรรม 1.1 กิจกรรมประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรม คนหัวใจเพชรบ้านป่าเล 1.2 กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจผู้นำชุนชน และคณะทำงา (2) 2. กิจกรรม อบรมเสริมพลังตับฟื้นพลังชีวิตและเวทีช่วยชมเชียร์งดเหล้า ระหว่างพรรษา        2.1 เรียนรู้การทำหัวเชื้อน้ำโพรไบโอติกจากขิง การทำผักดองโพรไบโอติก และน้ำผลไม้โพรไบโอติก โดยวิทยากร จากเครือข่ายงดเหล้าใต้ล่าง    2.2 เรียนรู้การทำสมุนไพรแช่เท้า (3) 3. …กิจกรรม เวทีประชุมคืนข้อมูล ให้กับหน่วยงาน ชุมชน และเชิดชูเกียรติผู้งดเหล้าครบพรรษา  3.1 กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ -เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลดละเลิกเหล้าบุหรี่ -ร่วมรับประธานอาหารกลางวัน -มอบเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ ให้แก่ผู้งดเหล้า ครบพรรษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในพื้่นที่บ้านป่าเล จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3311-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปราณี บัวนุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด