กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ”

รพสต.นาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาววนิดายาพระจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ รพสต.นาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5294-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพสต.นาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ รพสต.นาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5294-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคมะเร็งปกล่าวได้ว่าากมดลุก พบว่าเป็นอันดับที่2ของมะเร็งที่พบในสตรีทั่วโลกรองจากมะเร็งเต้านม แต่ละปีมีสตรีทั่วโลกกว่า5แสนคนต่อปี เป็นโรคนี้และร้อยละ 80เกิดขึ้นในประเทศที่กำลังพัฒนาแต่สำหรับประเทศไทย พบว่าโดยส่วนใหญ่มักจะเกิดในผู้หญิงวัยกลางคนอายุระหว่าง 35-55 ปี ในแต่ละปีมีการตรวจพบมะเร็งปากมดลูกรายใหม่กว่า 6000รายและมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ 2600 รายต่อปี กล่าวได้ว่าทุกๆวันจะมีสตรีไทยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกถึง 7คน นับเป็นปัญหาสำคัญของสาธารณสุขไทย จากการศึกษาวิจัยพบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี สายพันธุ์ที่16 และ18 การติดเชื้อร้อยละ 85 เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ร้อยะ 15 เกิดจากการสัมผัสแล้วเชื้อเข้าไปในเยื่อบุของอวัยวะเพศ หรือปากมดลูกที่มีรอยถลอกหรือแผลที่ทำให้เชื้อเข้าไปได้นั้น แม้ว่าไม่เคยผ่านการมีเพสสัมพันธ์มาก่อนก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อเอชพีวี เชื้อไวรัสชนิดนี้แบ่งออกเป็น2กลุ่ม คือ กลุ่มความเสี่ยงต่ำ ทำให้เกิดโรคหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศและรอยโรคขั้นต่ำ ส่วนกลุ่มความเสี่ยงสูงเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื้อปากมดลูกจนกลายเป็นรอยโรคขั้นสูงและมะเร็งในที่สุด ดดยกระบวนการเกิดมะเร็งปากมดลูกใช้เวลาเฉลี่ย 5-15 ปี พบว่าสตรีที่สตรีที่ติดเชื้อไวรัส กลุ่มความเสี่ยงสูงมีโอกาสที่เกิดมะเร็งปากมดลูกสูงสุดถึง 400 เท่า เมื่อเทียบกับสตรีที่ไม่พบการติดเชื้อดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การติดเชื้อดังกล่าว อาจจะหายเองได้ด้วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ในกรณีที่มีการติดเชื้อยังคงอยู่ หรือฝังแน่นที่ปากมดลูกก็จะมีการพัฒนาไปเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากโรคนี้มีระยะก่อนมะเร็งให้ตรวจพบก่อนได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่เรียกว่าการทำแป๊บสเมียร์ จะทำให้พบระยะก่อนมะเร็ง และมะเร็งระยะเริ่มแรก ช่วยให้สามารถรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้มีนโยบายส่งเสริมสุขภาพในการคัดกรอง โรคมเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มอายุ30-60ปี ใน75จังหวัดทั่วประเทศ ในการลดอุบัติการณ์และอัตราตายจากมะเร็งปากมดลูกของสตรีนั้นต้องมีการคัดกรองให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มดังกล่าวให้มากที่สุด โดยต้องทำซำ้ทุก 5 ปีโดยมีแผนการป้องกันและควบคุมมะเร็งแห่งชาติตั้งแต่ปี 2541 ซึ่งมีเป้าหมายว่าจะลด อัตราตายของสตรีไทยจากมะเร็งปากมดลูกลง 50 % ภายในระยะเวลา 5ปี ซึ่งจากการดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเริ่มตั้งแต่ปี2495โดยวิธี Papanicolaou และได้ดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมเป้าหมายยังพบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกยังเป็นปัญหาสำคัญและอุบัติการณ์เกิดมะเร็งปากมดลูกยังไม่ได้ลดลงในสตรีไทย ปัจจุบันการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถทำได้โดยวิธีPapanicolaou คือการค้นหาเนื้อเยื่อผิดปกติที่เปลี่ยนแปลงปากมดลูก ถ้าเซลล์ผิดปกติเหล่สนี้ไม่ได้รับการรักษา อาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ ซึ่งใช้เวลา 5-10 ปีถ้ามีภาวะเสี่ยงก็อาจเกิดอาการเร็วขึ้นการคัดกรองไม่ได้ถูกต้องร้อยเปอร์เซนต์ แต่ก็สามารถที่จะช่วยป้องกันมะเร็งปากมดลูกส่วนใหญ่ได้ ถ้าสามารถค้นหาเซลล์ผิดปกติก่อนที่จะกลายเป็นเซลล์มะเร็งชนิดสแควร์มัส ซึ่งเป็นชนิดที่พบมากที่สุดของมะเร็งปากมดลูก ส่วนเซลล์ผิดปกติที่อยู่ในรูเปิดของปากมดลูก Endocervical จะพบน้อย ประมาณร้อยละ20 และเซลล์ที่ผิดปกตินี้จะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูกชนิด Adenocarcinoma ถ้าผลการตรวจคัดกรองพบว่าเซลล์ที่ปากมดลูกมีความผิดปกติ จะมีข้อบ่งชี้ว่า รักษาโดยการจี้ด้วยความเย็นหรือต้องพบแพทย์เพื่อตรวจโดยวิธรอื่นต่อไป เพื่อค้นหาความผิดปกตอื่นเพื่อแนะนำการรักษาที่ดีที่สุดและสามารถลดงบประมาณในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วย และเพื่อให้การดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย 30-60 ปีของ รพสต.นาทอน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกก่อนกาตรวจคัดกรอง
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  4. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี
  5. ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนการเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,103
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 สตรีในกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับบริการตรวจกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม 5 ปี ร้อยละ 80 2 สตรีในกลุ่มอายุ 30-70 ปี ได้รับบริากรตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยอละ 90 3 ในรายทีี่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้องพร้อมๆด้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพร้อยละ 100 4 บุคคลในครอบครัวร่วมดูแลและพาสตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนทราบ

     

    0 0

    2. จัดทำเอกสารให้ความรู้

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดทำเอกสารให้ความรู้กับประชาชน

     

    170 170

    3. เจ้าหน้าที่และอสม.ค้นหาสตรีกลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการค้นหากลุ่มเป้าหมายตามโครงการโดยอสมและเจ้าหน้าที่

     

    933 933

    4. ในรายที่ผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายที่ผิดปกติได้รับการส่งต่อ

     

    0 0

    5. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ด้รับการตรวจคัดกรอง

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายตกค้างได้รับการตรวจคัดกรอง

     

    0 0

    6. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ อสม.

    วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสมมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

     

    60 60

    7. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายก่อนการตรวจคัดกรอง

    วันที่ 26 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สตรีกลุ่มเป้าหมายก่อนการตรวจคัดกรองมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

     

    170 170

    8. ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap-smear และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองทุกคน

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap-smear และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองทุกคน

     

    170 170

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกก่อนกาตรวจคัดกรอง
    ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกก่อนกาตรวจคัดกรอง ร้อยละ 100

     

    2 เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ร้อยละ 100

     

    3 เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด : ให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม 5 ปี ร้อยละ 80

     

    4 เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 90

     

    5 ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนการเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนการเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1103
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,103
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกก่อนกาตรวจคัดกรอง (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (4) เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี (5) ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนการเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5294-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววนิดายาพระจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด