กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568 ”
ม.8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายสะอารี มะตีเยาะ




ชื่อโครงการ ฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568

ที่อยู่ ม.8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3065-2-02 เลขที่ข้อตกลง 02/0268

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " ฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียนที่มีอายุระหว่าง 7-12 ปี กำลังเรียนในระดับประถมศึกษา เป็นวัยที่มีความต้องการพัฒนาทางด้านร่างกาย เติบโตตามพัฒนาการตามวัย มีความอยากรู้อยากเห็น มีการเรียนรู้ทางสังคม การอยู่ร่วมกับคนอื่นๆนอกเหนือจากบุคคลในครอบครัว การส่งเสริมสุขภาพในวัยนี้เป็นเรื่องสำคัญมากที่จะต้องปลูกฝังให้เยาวชนมีทัศนคติที่ดีสิ่งที่ตามมาคือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จะทำให้เด็กหรือเยาวชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของตนเองและคนรอบข้าง จากการที่ได้คลุกคลีกับนักเรียนในพื้นที่ พบว่าในช่วงปีที่ผ่าน นักเรียนหลายคนมีปัญหาปวดฟัน ฟันผุ ประมาณร้อยละ 30 ซึ่งเมื่อปวดฟันแล้วก็จะทำให้เด็กไม่ยอมทานอาหารส่งผลกระทบต่อสุขภาวะ ชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังพบว่าภัยที่คุกคามสุขภาพในเด็กวัยเรียน แยกเป็นข้อดังนี้ 1. ติดโทรศัพท์ เล่นเกมส์ ออนไลน์
2. อุบัติเหตุจากการเล่นต่างๆ
3. โรคระบบทางเดินหายใจ
4. พฤติกรรมการกินน้ำหวาน
นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กส่วนใหญ่มีความดื้อรั้น ไม่ค่อยเชื่อฟังผู้ปกครอง ทางชมรมมองเห็นว่าจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการป้องกัน และแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อให้ให้มีปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้อง การเรียนรู้ตามวัยที่พึงประสงค์ เป็นการเตรียมความพร้อมและเฝ้าระวังทางด้านสุขภาพให้แก่เด็กวัยเรียน ต้องมีการการจัดกิจกรรมหรือกระบวนการต่างๆเพื่อให้เด็กๆได้เข้าร่วมกิจกรรมในการเรียนรู้ จะได้เติบโตอย่างมีคุณภาพในอนาคต นอกเหนือจากที่ได้มีการเรียนในห้องเรียนตามปกติ ทุกภาคส่วนในพื้นที่ต้องร่วมกันเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพ ชมรมตาดีกาบ้านบางปลาหมอก็เป็นองค์กรที่มีความสำคัญในพื้นที่มีหน้าที่ในการฝึกอบรมเยาวชนให้มีจริยธรรม ความรู้ และพัฒนาการของเยาวชน นอกเหนือจากเวลาเรียนปกติของเยาวชน เป็นเวลายาวนานได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว และยังเห็นคุณค่าของการมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ จึงได้จัดทำโครงการฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568 ขึ้นเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ในการจัดกิจกรรมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีทัศนคติ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โตอย่างมีคุณภาพ ตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน
  2. คัดกรองตรวจสุขภาพ
  3. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและจิตอาสาป้องกันโรค
  4. ส่งเสริมองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
  5. ฟันต้นแบบ
  6. ประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมและเข้าร่วมกิจกรรม ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคหรือภัยสุขภาพต่างๆ และเผยแพร่แก่คนในครอบครัวได้
  2. เด็กและเยาวชนมีทัศนคติที่ดี และเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  3. เด็กและเยาวชนรักการออกกำลังกาย
  4. เกิดความรัก ความสามัคคี ในการอยู่ร่วมกัน
  5. เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนมีทัศนคติ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียนมีทัศนคติ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
110.00 105.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โตอย่างมีคุณภาพ ตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีพัฒนาการตามวัยอันพึงประสงค์
110.00 110.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีทัศนคติ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โตอย่างมีคุณภาพ ตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน (2) คัดกรองตรวจสุขภาพ (3) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและจิตอาสาป้องกันโรค (4) ส่งเสริมองค์ความรู้ด้านสุขภาพ (5) ฟันต้นแบบ (6) ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ฟันดี โภชนาการเด่น พัฒนาการตามวัย ตาดีกาบางปลาหมอ ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3065-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะอารี มะตีเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด