โครงการโรงเรียนพ่อแม่ ประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการโรงเรียนพ่อแม่ ประจำปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3069-10(1)-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย |
วันที่อนุมัติ | 15 มกราคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 75,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมะกอเซ็ง เจะแต |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 65 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง | 1.00 | ||
2 | ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ | 1.00 | ||
3 | ร้อยละของแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน | 1.00 | ||
4 | ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอด | 1.00 | ||
5 | ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย | 1.00 | ||
6 | ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรงเรียนพ่อเเม่ เป็นบริการของงกระทรวงสาธารณสุขที่มุ่งหวังจะพัฒนาคุณภาพ พ่อแม่ให้มีความพร้อมทางด้านความรู้เจตคติและทักษะในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ตั้งเเต่ เริ่มตั้งครรภ์ และพัฒนาความรู้ และทักษะอย่างต่อเนื่อง โดยเป้าหมายสำคัญคือเด็กปฐมวัย ทุกคนมีพัฒนาการสมวัยทั้งร่างกายและอารมณ์ เนื่องจากระยะตั้งครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นที่มีความสำคัญสำหรับการให้กำเนิดทารกให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา แม้ว่าการตั้งครรภ์ของสตรีจะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่เป็นภาวะที่หญิงตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวลดังนั้นจึงจำเป็นที่หญิงตั้งครรภ์ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการดูเเลตนเองและทารกในครรภ์การเปลี่ยนแปลงของร่างกายตั้งเเต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาในทุกระยะในการตั้งครรภ์ นอกจากหญิงตั้งครรภ์ จะต้องมีความเข้าใจ เรื่อง สภาวะที่เปลี่ยนไปของร่างกายตนเองแล้ว สามีและบุคคลในครอบครัว ควรจะมีความเข้าใจ และช่วยเหลือ ดูเเลหญิงตั้งครรภ์ และทารกด้วย
จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย ปี 2567 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ 61ราย มีภาวะซีด5ราย คิดเป็นร้อยละ 8.20 น้อยลง (ปี 2566 10.12)(เกณฑ์เป้าหมายกำหนดไม่เกินร้อยละ10) การตรวจพัฒนาการ ในเด็ก 0-5 ปี พบสงสัยพัฒนาการล่าช้า จำนวน 11 คน พัฒนาการของเด็กนั้น จำเป็นจะต้องช่วยกันกระตุ้นและส่งเสริม จากมารดา และผู้ใกล้ชิด จากข้อมูลดั่งกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย จึงได้จัดทำโครงการ โรงเรียน พ่อเเม่ ปี 2567 ขึ้น เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ ที่คาดว่าจะมีบุตรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล หญิงตั้งครรภ์ระยะตั้งครรภ์ ระยะหลังคลอดส่งเสริมให้มารดาหลังคลอด มีภาวะโภชนาการที่ดี ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระยะที่พ่อแม่นำเด็กมารับบริการที่คลินิกสุขภาพเด็กดีตั้งเเต่เเรกเกิดที่ถูกต้องอันจะส่งผลให้ทารกแรกเกิดมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพัฒนาการสมวัยซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อหญิงวัยเจริญพันธ์มีความพร้อมในการตั้งครรภ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ 1.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลตัวเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
1.00 | 1.00 |
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
|
1.00 | 1.00 |
3 | ข้อที่ 3 เพื่อหญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นปกติตามเกณฑ์
|
1.00 | 1.00 |
4 | ข้อที่ 4 เพื่อหญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
|
1.00 | 1.00 |
5 | ข้อที่ 5 เพื่อหญิงตั้งครรภ์คลอดที่สถานบริการ
|
1.00 | 1.00 |
6 | ข้อที่ 6 เพื่อหญิงหลังคลอดมีการวางแผนครอบครัว
|
1.00 | 1.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
??/??/???? | 1.1 รณรงค์ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ | 0 | 7,920.00 | - | ||
??/??/???? | 2.1 อบรมหญิงหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และอสม. เรื่องการวางแผนครอบครัวและการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ กลุ่มเป้าหมาย 250 คน โดยแบ่งเป็น 5 หมู่2.2 อบรมหญิงวัยเจริญพันธุ์2.3 อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสามีจำนวน 2 ครั้งคือก่อนอายุครรภ์น้อยกว่า 2 | 0 | 54,000.00 | - | ||
??/??/???? | 3.1 อบรม อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปุโละปุโย โดยให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัวความรู้เรื่องการฝากครรภ์คุณภาพ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ให้คลอดที่โรงพยาบาล | 0 | 13,080.00 | - | ||
รวม | 0 | 75,000.00 | 0 | 0.00 |
1.หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 2.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี ร้อยละ 60 3.ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 4.หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลด้านโภชนาการในตนเองและทารก ร้อยละ 70 5.หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการ ร้อยละ 90 6.หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ม.ค. 2568 00:00 น.