โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 ”
ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมารียัม หะยีดาโอะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L2511-1-7 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2511-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การส่งเสริมสุขภาพเป็นประเด็นหลักในการพัฒนาเด็ก สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-5 ปี จึงเป็นสิ่งสะท้อนถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก และเป็นตัวกำหนดภาวะสุขภาพในวัยผู้ใหญ่ เด็กที่ขาดสารอาหารมีแนวโน้มที่จะเสียชีวิตด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร ส่วนเด็กที่มีชีวิตรอดจะเจ็บป่วยบ่อย ๆ และจะทำให้
การเจริญเติบโตชะงัก ข้อมูลจากสำนักโภชนาการปี 2565 สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ในประเทศ พบว่า ระดับความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (เตี้ย ผอม) อยู่ในระดับกลาง คือ เด็กมีภาวะเตี้ย
ร้อยละ 11.0 อยู่อันดับที่ 26 เด็กมีภาวะผอมร้อยละ 5.4 อยู่อันดับที่ 22 และระดับความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน) อยู่ในระดับต่ำ คือ เด็กมีภาวะอ้วนร้อยละ 8.2 อยู่อันดับที่ 7 จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่าภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ยังเป็นปัญหาระดับนานาชาติที่ต้องให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหา จากข้อมูลรายงานประจำปี 2567 ระบบการเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ปี ย้อนหลัง (2565-2567) สถานการณ์เด็กเตี้ย ผอม เริ่มอ้วนและอ้วน เขตสุขภาพที่ 12 พบว่า ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ยร้อยละ 12.4, 12.5 และ 14.9 ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมายที่กำหนด คือ ร้อยละ 9.5 จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่าภาวะเตี้ย หมายถึงภาวะขาดอาหารเรื้อรัง ได้รับอาหารไม่เพียงพอเป็นเวลานาน หรือเจ็บป่วยบ่อยทำให้ส่วนสูงเพิ่มขึ้นน้อยหรือไม่เพิ่มขึ้นเลย สถานการณ์เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอมร้อยละ 5.9 , 6.1 และ 7.2 ตามลำดับ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมาย (ไม่เกินร้อยละ 5.0) จากข้อมูลดังกล่าว ภาวะผอมเป็นภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอระยะสั้นหรือการขาดอาหารระยะสั้น จึงจำเป็นต้องส่งเสริมให้เด็กได้รับอาหารในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ 9.5 , 8.7 และ 8.0 ตามลำดับ ผ่านค่าเป้าหมายที่กำหนด (ไม่เกินร้อยละ 8.5) ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนยังเป็นประเด็นท้าทายในการดำเนินงานเช่นเดียวกับภาวะเตี้ยและผอมซึ่งภาวะเริ่มอ้วนหมายถึงภาวะที่น้ำหนักมากก่อนเกิดภาวะอ้วนชัดเจน เด็กมีโอกาสที่จะเป็นผู้ใหญ่อ้วนในอนาคตหากไม่ควบคุมน้ำหนัก และภาวะอ้วนเป็นภาวะอ้วนชัดเจนมีน้ำหนักมากเกินไป ไม่เหมาะสมกับส่วนสูงอย่างมากเด็กมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ขาโก่ง และเป็นผู้ใหญ่อ้วนมากยิ่งขึ้นในอนาคตหากไม่ควบคุมน้ำหนัก
ผลการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ด้วยเครื่องมือ DSPM อำเภอรือเสาะ (จากรายงาน Health Data Center สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2565 )
คัดกรองครอบคลุมร้อยละ 84.10 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90) เด็กที่พบสงสัยพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 28.73 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 20) เด็กที่ได้รับการติดตามภายใน 30 วันร้อยละ 91.03 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90) เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 81.65 (เป้าหมาย ≥ร้อยละ 85) ซึ่งพบว่าผลการดำเนินงานไม่ผ่านเกณฑ์ในบางประเด็น คือ ความครอบคลุมในการคัดกรองพัฒนาการเด็ก เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย เป็นต้น การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องจะต้องตระหนักในการเฝ้าระวัง และให้การช่วยเหลือดูแล ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาไปตามวัยอย่างถูกต้องเหมาะสมตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ถ้าไม่มีกระบวนการดูแลช่วยเหลือที่ชัดเจน เด็กจะเสียโอกาสในการพัฒนาตามวัย รวมทั้งอาจเกิดปัญหาพัฒนาการที่ยุ่งยากซับซ้อน เป็นภาระต่อครอบครัว สังคม และประเทศ แต่ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาก สภาพครอบครัว การเลี้ยงดูเด็กก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน จากเดิมผู้เลี้ยงเป็น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งมีสายสัมพันธ์กับเด็ก เลี้ยงเด็กด้วยความรักและผูกพันอยู่กับบ้าน กลายเป็นการนำเด็กไปฝากเลี้ยงตามสถานเลี้ยงเด็กต่าง ๆ ในตอนเช้า และรับกลับตอนเย็น หากเป็นเช่นนี้ระยะที่พ่อ แม่ ลูก ได้พบกันเป็นช่วงเวลาที่ต่างคนต่างเหน็ดเหนื่อย จึงทำให้พ่อแม่ ขาดโอกาสในการกระตุ้นพัฒนาการลูก โดยเฉพาะครอบครัวที่ไม่เห็นความสำคัญด้านนี้
จากรายงานการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อปี 2567 จำนวนเด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หมู่ที่ 7 บ้านสโลว์ และหมู่ที่ 9 บ้านบูกิ๊ตยือแร รวมทั้งสิ้น 173 คน จากจำนวนเด็กทั้งสิ้น 357 คน คิดเป็นร้อยละ 43.97 โดยรวมพบว่า เด็กมีภาวะผอมร้อยละ 9.89 อ้วนร้อยละ 3.30 และเตี้ยร้อยละ 31.32 (ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ.2568) ในปีงบประมาณ 2568 มีเด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตหมู่ที่ 7 และ หมู่ที่ 9 จำนวนทั้งสิ้น 185 คน ปัญหาดังกล่าวอาจมีสาเหตุจากการขาดความรู้ที่ถูกต้องในการเลี้ยงดูบุตร ขาดความรู้เรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก ประกอบกับผู้ปกครองหรือผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นปู่ย่า ตายาย ซึ่งมีความรักและตามใจหลาน ให้เด็กรับประทานขนมหวาน อาหารขบเคี้ยวมากไป อาหารที่ไม่มีคุณค่าทางสารอาหาร ทำให้ร่างกายของเด็กได้รับสารอาหารไม่เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ รายได้ของครอบครัว สถานะความมั่นคงของครอบครัว ผู้ปกครองไม่มีกำลังในการซื้ออาหารจำพวกเนื้อสัตว์ ไข่ นม รวมทั้งผักและผลไม้ให้เด็กรับประทานทุกวัน ซึ่งอาหารหลักจำพวกนี้ล้วนเป็นอาหารที่มีราคาค่อนข้างแพง โดยเฉพาะอาหารจำพวกวิตามิน นอกจากนี้ปัญหาด้านพัฒนาการ จำเป็นต้องมีการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จึงตระหนักถึงความสำคัญในการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพเด็กอายุ 0 – 5 ปี โดยการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การบริการมีความครอบคลุม ครบถ้วนมากที่สุด ทั้งนี้ต้องมีการประชาสัมพันธ์ถึงผลกระทบ ความรุนแรงของโรคจากภาวะทุพโภชนาการ และพัฒนาการล่าช้า และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็กที่มีภาวะโรคขาดสารอาหารให้ได้รับการส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน
- เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกพร่องในเรื่องโภชนาการและพัฒนาการ เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน และมอบหมายหน้าที
- กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่คัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างถูกต้อง
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการ
- เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติและเด็กที่มีพัฒนาการช้าได้รับการติดตาม กระตุ้น และประเมินภาวะโภชนาการ และตรวจพัฒนาการซ้ำให้มีภาวะโภชนาการปกติ และมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็กที่มีภาวะโรคขาดสารอาหารให้ได้รับการส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00
100.00
2
เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ร้อยละ 80
80.00
95.00
3
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 100
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
198
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
58
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็กที่มีภาวะโรคขาดสารอาหารให้ได้รับการส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน (2) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกพร่องในเรื่องโภชนาการและพัฒนาการ เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน และมอบหมายหน้าที (2) กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่คัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L2511-1-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมารียัม หะยีดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 ”
ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมารียัม หะยีดาโอะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L2511-1-7 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2511-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การส่งเสริมสุขภาพเป็นประเด็นหลักในการพัฒนาเด็ก สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-5 ปี จึงเป็นสิ่งสะท้อนถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก และเป็นตัวกำหนดภาวะสุขภาพในวัยผู้ใหญ่ เด็กที่ขาดสารอาหารมีแนวโน้มที่จะเสียชีวิตด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร ส่วนเด็กที่มีชีวิตรอดจะเจ็บป่วยบ่อย ๆ และจะทำให้
การเจริญเติบโตชะงัก ข้อมูลจากสำนักโภชนาการปี 2565 สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ในประเทศ พบว่า ระดับความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (เตี้ย ผอม) อยู่ในระดับกลาง คือ เด็กมีภาวะเตี้ย
ร้อยละ 11.0 อยู่อันดับที่ 26 เด็กมีภาวะผอมร้อยละ 5.4 อยู่อันดับที่ 22 และระดับความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน) อยู่ในระดับต่ำ คือ เด็กมีภาวะอ้วนร้อยละ 8.2 อยู่อันดับที่ 7 จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่าภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ยังเป็นปัญหาระดับนานาชาติที่ต้องให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหา จากข้อมูลรายงานประจำปี 2567 ระบบการเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ปี ย้อนหลัง (2565-2567) สถานการณ์เด็กเตี้ย ผอม เริ่มอ้วนและอ้วน เขตสุขภาพที่ 12 พบว่า ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ยร้อยละ 12.4, 12.5 และ 14.9 ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมายที่กำหนด คือ ร้อยละ 9.5 จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่าภาวะเตี้ย หมายถึงภาวะขาดอาหารเรื้อรัง ได้รับอาหารไม่เพียงพอเป็นเวลานาน หรือเจ็บป่วยบ่อยทำให้ส่วนสูงเพิ่มขึ้นน้อยหรือไม่เพิ่มขึ้นเลย สถานการณ์เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอมร้อยละ 5.9 , 6.1 และ 7.2 ตามลำดับ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมาย (ไม่เกินร้อยละ 5.0) จากข้อมูลดังกล่าว ภาวะผอมเป็นภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอระยะสั้นหรือการขาดอาหารระยะสั้น จึงจำเป็นต้องส่งเสริมให้เด็กได้รับอาหารในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ 9.5 , 8.7 และ 8.0 ตามลำดับ ผ่านค่าเป้าหมายที่กำหนด (ไม่เกินร้อยละ 8.5) ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนยังเป็นประเด็นท้าทายในการดำเนินงานเช่นเดียวกับภาวะเตี้ยและผอมซึ่งภาวะเริ่มอ้วนหมายถึงภาวะที่น้ำหนักมากก่อนเกิดภาวะอ้วนชัดเจน เด็กมีโอกาสที่จะเป็นผู้ใหญ่อ้วนในอนาคตหากไม่ควบคุมน้ำหนัก และภาวะอ้วนเป็นภาวะอ้วนชัดเจนมีน้ำหนักมากเกินไป ไม่เหมาะสมกับส่วนสูงอย่างมากเด็กมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ขาโก่ง และเป็นผู้ใหญ่อ้วนมากยิ่งขึ้นในอนาคตหากไม่ควบคุมน้ำหนัก
ผลการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ด้วยเครื่องมือ DSPM อำเภอรือเสาะ (จากรายงาน Health Data Center สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2565 )
คัดกรองครอบคลุมร้อยละ 84.10 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90) เด็กที่พบสงสัยพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 28.73 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 20) เด็กที่ได้รับการติดตามภายใน 30 วันร้อยละ 91.03 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90) เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 81.65 (เป้าหมาย ≥ร้อยละ 85) ซึ่งพบว่าผลการดำเนินงานไม่ผ่านเกณฑ์ในบางประเด็น คือ ความครอบคลุมในการคัดกรองพัฒนาการเด็ก เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย เป็นต้น การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องจะต้องตระหนักในการเฝ้าระวัง และให้การช่วยเหลือดูแล ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาไปตามวัยอย่างถูกต้องเหมาะสมตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ถ้าไม่มีกระบวนการดูแลช่วยเหลือที่ชัดเจน เด็กจะเสียโอกาสในการพัฒนาตามวัย รวมทั้งอาจเกิดปัญหาพัฒนาการที่ยุ่งยากซับซ้อน เป็นภาระต่อครอบครัว สังคม และประเทศ แต่ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาก สภาพครอบครัว การเลี้ยงดูเด็กก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน จากเดิมผู้เลี้ยงเป็น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งมีสายสัมพันธ์กับเด็ก เลี้ยงเด็กด้วยความรักและผูกพันอยู่กับบ้าน กลายเป็นการนำเด็กไปฝากเลี้ยงตามสถานเลี้ยงเด็กต่าง ๆ ในตอนเช้า และรับกลับตอนเย็น หากเป็นเช่นนี้ระยะที่พ่อ แม่ ลูก ได้พบกันเป็นช่วงเวลาที่ต่างคนต่างเหน็ดเหนื่อย จึงทำให้พ่อแม่ ขาดโอกาสในการกระตุ้นพัฒนาการลูก โดยเฉพาะครอบครัวที่ไม่เห็นความสำคัญด้านนี้
จากรายงานการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อปี 2567 จำนวนเด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หมู่ที่ 7 บ้านสโลว์ และหมู่ที่ 9 บ้านบูกิ๊ตยือแร รวมทั้งสิ้น 173 คน จากจำนวนเด็กทั้งสิ้น 357 คน คิดเป็นร้อยละ 43.97 โดยรวมพบว่า เด็กมีภาวะผอมร้อยละ 9.89 อ้วนร้อยละ 3.30 และเตี้ยร้อยละ 31.32 (ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ.2568) ในปีงบประมาณ 2568 มีเด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตหมู่ที่ 7 และ หมู่ที่ 9 จำนวนทั้งสิ้น 185 คน ปัญหาดังกล่าวอาจมีสาเหตุจากการขาดความรู้ที่ถูกต้องในการเลี้ยงดูบุตร ขาดความรู้เรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก ประกอบกับผู้ปกครองหรือผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นปู่ย่า ตายาย ซึ่งมีความรักและตามใจหลาน ให้เด็กรับประทานขนมหวาน อาหารขบเคี้ยวมากไป อาหารที่ไม่มีคุณค่าทางสารอาหาร ทำให้ร่างกายของเด็กได้รับสารอาหารไม่เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ รายได้ของครอบครัว สถานะความมั่นคงของครอบครัว ผู้ปกครองไม่มีกำลังในการซื้ออาหารจำพวกเนื้อสัตว์ ไข่ นม รวมทั้งผักและผลไม้ให้เด็กรับประทานทุกวัน ซึ่งอาหารหลักจำพวกนี้ล้วนเป็นอาหารที่มีราคาค่อนข้างแพง โดยเฉพาะอาหารจำพวกวิตามิน นอกจากนี้ปัญหาด้านพัฒนาการ จำเป็นต้องมีการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จึงตระหนักถึงความสำคัญในการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพเด็กอายุ 0 – 5 ปี โดยการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การบริการมีความครอบคลุม ครบถ้วนมากที่สุด ทั้งนี้ต้องมีการประชาสัมพันธ์ถึงผลกระทบ ความรุนแรงของโรคจากภาวะทุพโภชนาการ และพัฒนาการล่าช้า และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็กที่มีภาวะโรคขาดสารอาหารให้ได้รับการส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน
- เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกพร่องในเรื่องโภชนาการและพัฒนาการ เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน และมอบหมายหน้าที
- กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่คัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 140 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 58 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างถูกต้อง
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการ
- เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติและเด็กที่มีพัฒนาการช้าได้รับการติดตาม กระตุ้น และประเมินภาวะโภชนาการ และตรวจพัฒนาการซ้ำให้มีภาวะโภชนาการปกติ และมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็กที่มีภาวะโรคขาดสารอาหารให้ได้รับการส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80 |
80.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ร้อยละ 80 |
80.00 | 95.00 |
|
|
3 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 198 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 140 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 58 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็กที่มีภาวะโรคขาดสารอาหารให้ได้รับการส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน (2) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกพร่องในเรื่องโภชนาการและพัฒนาการ เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน และมอบหมายหน้าที (2) กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่คัดกรองและตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. บ้านบูกิ๊ตจือแร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L2511-1-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมารียัม หะยีดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......