กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการให้ความรู้ ดูช่องปาก ผู้สูงวัยและใส่ใจผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางนวลอนงค์ สุขเกษม




ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้ ดูช่องปาก ผู้สูงวัยและใส่ใจผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3311-1-4 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้ ดูช่องปาก ผู้สูงวัยและใส่ใจผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้ ดูช่องปาก ผู้สูงวัยและใส่ใจผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้ ดูช่องปาก ผู้สูงวัยและใส่ใจผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3311-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ และประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) คือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ จำเป็นต้องให้ความสำคัญในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ สุขภาพช่องปากถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญกับสุขภาพทางด้านร่างกาย อาทิ การสูญเสียฟันจำนวนมากจะลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร การดำเนินชีวิตประจำวันและสุขภาพจิต เป็นต้น ดังกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ความว่า “เวลาไม่มีฟันกินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุขจิตใจก็ไม่สบายร่างกายก็ไม่แข็งแรง” ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก นอกจากนี้ยังพบฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา รากฟันผุที่สัมพันธ์กับเหงือกร่นในวัยสูงอายุร้อยละ โรคปริทันต์อักเสบที่มีการทำลายของเนื้อเยื่อและกระดูกรองรับรากฟันซึ่งเป็นโรคปริทันต์อักเสบที่อยู่ในระดับรุนแรงมาก ซึ่งนอกจากจะเสี่ยงต่อการอักเสบ ปวดบวม ติดเชื้อ และสูญเสียฟันแล้ว ยังสัมพันธ์กับความรุนแรงของเบาหวานด้วย ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพช่องปากและคุณภาพชีวิตเป็นอย่างยิ่ง
      ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาหยา จึงเล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาโรคในช่องปากในกลุ่มดังกล่าว โดยการให้ความรู้และพัฒนาทักษะแก่ตัวบุคคล เพื่อขยายความรู้และพัฒนาทักษะให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และเพื่อกระตุ้นให้กลุ่มดังกล่าวตระหนักถึงการดูแลทันตสุขภาพพร้อมทั้งได้รับระบบบริการสุขภาพเชิงรุกเน้นการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเพื่อลดปัญหาโรคในช่องปาก และทำให้ผู้สูงอายุผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีทันตสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาหยา ทราบสภาวะช่องปากและสามารถนำมาวางแผนการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ร้อยละ70 ของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  3. เพื่อให้ร้อยละ70 ของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 กิจกรรมให้ความรู้ แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 1.2 ฝึกทักษะการแปรงฟัน การดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 406
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาหยา ทราบสภาวะช่องปากและสามารถนำมาวางแผนการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาหยา สามารถนำผลการตรวจสภาวะช่องปากมาวางแผนการทำงานได้อย่างเหมาะสม

 

2 เพื่อให้ร้อยละ70 ของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ70 ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้อง

 

3 เพื่อให้ร้อยละ70 ของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ70 ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 406
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 406
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาหยา ทราบสภาวะช่องปากและสามารถนำมาวางแผนการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ร้อยละ70 ของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้ร้อยละ70 ของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง  มีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 กิจกรรมให้ความรู้ แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง  1.2 ฝึกทักษะการแปรงฟัน การดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้ ดูช่องปาก ผู้สูงวัยและใส่ใจผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3311-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนวลอนงค์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด