โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสุริยานา ดือเล๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2533-3-01 เลขที่ข้อตกลง 1/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2533-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความสำคัญยิ่งต่อการสร้างรากฐานชีวิตมนุษย์ ช่วงแรกเกิด - 6 ปี เป็นช่วงที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตทั้งด้านขนาดและน้ำหนักอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ เด็กวัยนี้มีพัฒนาการด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและเป็นวัยที่สำคัญที่จะต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดู ที่ถูกต้องเหมาะสม ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาเด็กก็คือ “สมอง”เพราะสมองเป็นตัวรับรู้และสั่งการทำให้มีความคิดและการกระทำแสดงออกมา การที่จะเลี้ยงเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยนั้น จำเป็นจะต้องพัฒนาสมองของเด็กไปให้ถูกทางซึ่งผลการประเมินการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร สรุปได้ดังนี้
1. ด้านการเคลื่อนไหว Gross Motor (GM) ผ่านจำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 57.39 และไม่ผ่านจำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 42.61
2. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา Fine Moter (FM) ผ่านจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 24.35 และไม่ผ่านจำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 75.65
3. ด้านการเข้าใจภาษา Receptive Language RL ผ่านจำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 30.43 และไม่ผ่านจำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 69.57
4. ด้านการใช้ภาษา Expressive Language (EL) ผ่านจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ28.70 และไม่ผ่านจำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 71.30
5. ด้านการช่วยเหลือตัวเองและสังคม Personal and Social (PS) ผ่านจำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 21.74 และไม่ผ่านจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 78.26
จะเห็นได้ว่าผลการประเมินของเด็กที่ผ่านเกณ์มีแค่ด้านการเคลื่อนไหว Gross Motor (GM) คิดเป็นร้อยละ 57.39 ยังถือว่าผ่านน้อย ส่วนด้านอื่นๆ ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เพื่อให้เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทรมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทรได้ศึกษาแนวทางที่สอดคล้องกับการพัฒนาของสมอง จึงได้ค้นพบเกี่ยวกับหลักการพัฒนาสมอง (Brain – based – Learning) คือ องค์ความรู้และการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ถูกต้อง เหมาะสม กับทุกช่วงวัยตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาถึงวัยชรา โดยสอดคล้องกับพัฒนาการด้านโครงสร้างและการทำงานของสมองการสร้าง การฝึกสมอง ให้สมองเรียนรู้การแก้ปัญหาได้ถูกต้อง แม่นยำเหมาะสม กับทุกช่วงวัยของการเรียนรู้ และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในอนาคต
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ขึ้น เพื่อให้เด็กได้มีพื้นที่สำหรับเรียนรู้ตลอดจนสามารถพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพื่อรองรับการประเมินในลำดับถัดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ครู เด็กและผู้ปกครอง ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
- เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเตรียมความพร้อม
- การดำเนินงานโครงการ
- การติดตามและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
116
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู เด็กและผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักการพัฒนาสมอง BBL
- มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนกานสอนทั้งในและนอกอาคารเรียนได้ดี
- เด็กได้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- เด็ก ครู และผู้ปกครองนักเรียนเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การดำเนินงานโครงการ
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
กิจกรรมลานกิจกรรม BBL และห้องสมุดน่ารู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ครู เด็กและผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักการพัฒนาสมอง BBL
2 มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนกานสอนทั้งในและนอกอาคารเรียนได้ดี
3 เด็กได้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
4 เด็ก ครู และผู้ปกครองนักเรียนเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ครู เด็กและผู้ปกครอง ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของครู เด็กและผู้ปกครอง มีความรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
0.00
2
เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน
0.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
0.00
4
เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
116
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
116
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ครู เด็กและผู้ปกครอง ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) (2) เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย (4) เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียมความพร้อม (2) การดำเนินงานโครงการ (3) การติดตามและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2533-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุริยานา ดือเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสุริยานา ดือเล๊าะ
เมษายน 2568
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2533-3-01 เลขที่ข้อตกลง 1/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2533-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความสำคัญยิ่งต่อการสร้างรากฐานชีวิตมนุษย์ ช่วงแรกเกิด - 6 ปี เป็นช่วงที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตทั้งด้านขนาดและน้ำหนักอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ เด็กวัยนี้มีพัฒนาการด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและเป็นวัยที่สำคัญที่จะต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดู ที่ถูกต้องเหมาะสม ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาเด็กก็คือ “สมอง”เพราะสมองเป็นตัวรับรู้และสั่งการทำให้มีความคิดและการกระทำแสดงออกมา การที่จะเลี้ยงเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยนั้น จำเป็นจะต้องพัฒนาสมองของเด็กไปให้ถูกทางซึ่งผลการประเมินการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร สรุปได้ดังนี้
1. ด้านการเคลื่อนไหว Gross Motor (GM) ผ่านจำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 57.39 และไม่ผ่านจำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 42.61
2. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา Fine Moter (FM) ผ่านจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 24.35 และไม่ผ่านจำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 75.65
3. ด้านการเข้าใจภาษา Receptive Language RL ผ่านจำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 30.43 และไม่ผ่านจำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 69.57
4. ด้านการใช้ภาษา Expressive Language (EL) ผ่านจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ28.70 และไม่ผ่านจำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 71.30
5. ด้านการช่วยเหลือตัวเองและสังคม Personal and Social (PS) ผ่านจำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 21.74 และไม่ผ่านจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 78.26
จะเห็นได้ว่าผลการประเมินของเด็กที่ผ่านเกณ์มีแค่ด้านการเคลื่อนไหว Gross Motor (GM) คิดเป็นร้อยละ 57.39 ยังถือว่าผ่านน้อย ส่วนด้านอื่นๆ ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เพื่อให้เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทรมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทรได้ศึกษาแนวทางที่สอดคล้องกับการพัฒนาของสมอง จึงได้ค้นพบเกี่ยวกับหลักการพัฒนาสมอง (Brain – based – Learning) คือ องค์ความรู้และการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ถูกต้อง เหมาะสม กับทุกช่วงวัยตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาถึงวัยชรา โดยสอดคล้องกับพัฒนาการด้านโครงสร้างและการทำงานของสมองการสร้าง การฝึกสมอง ให้สมองเรียนรู้การแก้ปัญหาได้ถูกต้อง แม่นยำเหมาะสม กับทุกช่วงวัยของการเรียนรู้ และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในอนาคต ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ขึ้น เพื่อให้เด็กได้มีพื้นที่สำหรับเรียนรู้ตลอดจนสามารถพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพื่อรองรับการประเมินในลำดับถัดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ครู เด็กและผู้ปกครอง ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)
- เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเตรียมความพร้อม
- การดำเนินงานโครงการ
- การติดตามและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 116 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู เด็กและผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักการพัฒนาสมอง BBL
- มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนกานสอนทั้งในและนอกอาคารเรียนได้ดี
- เด็กได้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- เด็ก ครู และผู้ปกครองนักเรียนเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) กิจกรรมลานกิจกรรม BBL และห้องสมุดน่ารู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ครู เด็กและผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักการพัฒนาสมอง BBL 2 มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนกานสอนทั้งในและนอกอาคารเรียนได้ดี 3 เด็กได้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 4 เด็ก ครู และผู้ปกครองนักเรียนเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ครู เด็กและผู้ปกครอง ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของครู เด็กและผู้ปกครอง มีความรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 116 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 116 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ครู เด็กและผู้ปกครอง ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) (2) เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกอาคารเรียน (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย (4) เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครูเด็กและผู้ปกครอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียมความพร้อม (2) การดำเนินงานโครงการ (3) การติดตามและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2533-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุริยานา ดือเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......