กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง(สินประชา) ปี 68 ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวสาริสา มากศรี




ชื่อโครงการ I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง(สินประชา) ปี 68

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3323-02-07 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง(สินประชา) ปี 68 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง(สินประชา) ปี 68



บทคัดย่อ

โครงการ " I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง(สินประชา) ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3323-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,988.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สายตาและการมองเห็นถือเป็นจุดเริ่มต้นในการเรียนรู้ พัฒนาการทางด้านสมอง บุคลิกภาพ ตลอดจนถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยเฉพาะเด็กอนุบาลและประถมศึกษา อายุ 3-12 ปี เด็กที่มีภาวะสายตาผิดปกติและไม่ได้รับการแก้ไขจะมีผลกระทบในเชิงลบต่อการศึกษา และโอกาสการทำงานในอนาคต ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว และคนในสังคมด้วยเช่นกัน ความผิดปกติของสายตา นับเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งต่อการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเกิดขึ้นกับเด็กซึ่งเป็นอนาคตของชาติ และอาจเป็นอุปสรรคในการศึกษาเล่าเรียน ทำให้มีผลสืบเนื่องในระยะยาวซึ่งปัญหานี้สามารถแก้ไขได้โดย "การสวมแว่นสายตา” การคัดกรอง การวินิจฉัย และแก้ไขภาวะสายตาผิดปกติโดยการสวมแว่นสายตา เป็นสิทธิประโยชน์สำหรับเด็กอายุ 3-12 ปี และรัฐบาลได้ผลักดันให้โรงเรียนดำเนินโครงการเด็กไทยสายตาดีปี 2564 - 2568 และในปี 2568 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีนโยบายเชิงรุก ขยายช่วงอายุในการคัดกรองสายตา จากเดิมคัดกรองสายตาให้กับเด็ก 3-12 ปี เป็น 3 - 15 ปี
โรงเรียนบ้านควนพนางตุง มีนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 238 คน แยกเป็น ชั้นอนุบาล จำนวน 47 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 27 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 27 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 27คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 32 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 44 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 34 คน และบุคลากร จำนวน 19 คน ดังนั้นโรงเรียนบ้านควนพนางตุง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพทางด้านสายตาและการมองเห็นให้กับเด็ก จึงได้จัดทำโครงการ I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง ปี 2568 ขึ้น โดยนักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองสายตาโดยครูและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หากพบนักเรียนที่มีสายตาผิดปกติ (VA แย่กว่า 20/30 ขึ้นไป) หรือมีความผิดปกติทางตาด้านอื่น ๆ จะได้รับการตรวจวินิจฉัยโดยนักทัศนมาตรอีกครั้ง หากพบนักเรียนที่มีสายตาผิดปกติที่สามารถแก้ไขได้ด้วยแว่นตาจะต้องได้รับการวัดค่าสายตา และตัดแว่นตาเด็กที่ได้รับวินิจฉัยสายตาผิดปกติ และหากพบความผิดปกติทางสายตาด้านอื่นดำเนินการส่งต่อแพทย์เพื่อวินิจฉัยต่อไป โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพนางตุงเพื่อดำเนินโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการคัดกรองสายตาเด็กอายุ 5-12 ปี หรือ อนุบาล - ประถมศึกษา ด้วย E-chart
  2. เพื่อเพิ่มการแก้ปัญหาทางด้านสายตาด้วยแว่นสายตา เด็กอาย 5-12 ปี หรือ อนุบาล-ประถมศึกษาปีมีความผิดปกติทางสายตา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ
  2. คัดกรองซ้ำด้วยเครื่อง Auto refraction สำหรับเด็กที่มีความผิดปกติ (ค่า va 20/30)
  3. กิจกรรมส่งต่อเด็กนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสายตาพบแพทย์
  4. อบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสายตาเด็กอนุบาล-ชั้นประถมศึกษา อายุ 5-12 ปี ด้วย E-chart/lea chart

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 238
กลุ่มวัยทำงาน 19
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 5-12 ปี ได้รับการตรวจสายตาเบื้องต้น
  2. เด็ก 5-12 ปี ได้รับการแก้ปัญหาด้านสายตา
  3. เด็กที่มีความผิดปกติทางด้านสายตาที่ไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยการตัดแว่น ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการคัดกรองสายตาเด็กอายุ 5-12 ปี หรือ อนุบาล - ประถมศึกษา ด้วย E-chart
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ได้รับการคัดกรองสายตา ด้วย E-chart
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มการแก้ปัญหาทางด้านสายตาด้วยแว่นสายตา เด็กอาย 5-12 ปี หรือ อนุบาล-ประถมศึกษาปีมีความผิดปกติทางสายตา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็ก อายุ 5-12 ปี หรือ อนุบาล-ประถมศึกษา ที่มีความผิดปกติทางสายตา Va>20/30 ได้รับการแก้ปัญหาด้วยแว่นสายตา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 257
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 238
กลุ่มวัยทำงาน 19
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการคัดกรองสายตาเด็กอายุ 5-12 ปี หรือ อนุบาล - ประถมศึกษา ด้วย E-chart (2) เพื่อเพิ่มการแก้ปัญหาทางด้านสายตาด้วยแว่นสายตา เด็กอาย 5-12 ปี หรือ อนุบาล-ประถมศึกษาปีมีความผิดปกติทางสายตา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ (2) คัดกรองซ้ำด้วยเครื่อง Auto refraction สำหรับเด็กที่มีความผิดปกติ (ค่า va 20/30) (3) กิจกรรมส่งต่อเด็กนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสายตาพบแพทย์ (4) อบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสายตาเด็กอนุบาล-ชั้นประถมศึกษา อายุ 5-12 ปี ด้วย E-chart/lea chart

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


I see the future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนพนางตุง(สินประชา) ปี 68 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3323-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสาริสา มากศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด