โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 ”
หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-05 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3321-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรทั่วโลก ประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคความ ดันโลหิตสูงถึง 7.5 ล้านคน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1 พันล้านคนทั่วโลก คาดว่าในปี 2568 ความชุกของผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้านคน ในประเทศไทย ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ15 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นจาก 10 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 13 ล้านคนในปี 2571และเกือบครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่าตนเองป่วยด้วยโรคนี้ จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากเกือบ 4 ล้านคนในปี 2556 เป็นเกือบ 6 ล้านคนในปี2561จำนวนผู้เสียชีวิต จากโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วย จาก 5,186 คนในปี 2556เป็น 8,525 คน ในปี 2560 ปี 2557 มีการประเมินค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล พบว่าประเทศไทยต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 80,000 ล้านบาทต่อปีต่อจำนวนผู้ป่วยประมาณการ 10 ล้านคน จะเห็นได้ว่าโรคความดันโลหิตสูงยังคงเป็นปัญหา สุขภาพที่สำคัญ สำหรับจังหวัดพัทลุง สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงจากข้อมูล HDC มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เพิ่มขึ้นทุกปี โดย ในปีงบประมาณ 2559 - 2561 จังหวัดพัทลุง มีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ดังนี้ 52,290 คน, 55,955 คน และ6,116 คน และจากสถิติการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชากรกลุ่มอายุ 3๕ปีขึ้นไป ในตำบลปันแต มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ ในปี 2561-2567 จำนวน 1,101.93, 1,023.39,1,202.67,973.55,810.37,997.87,1473.24 อัตราต่อแสนประชากรเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน
ซึ่งจากการดำเนินงานคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ในแต่ละปีพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปีโดยในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาได้ทำการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไป พบว่าร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการติดตามจำนวน 222 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 10.36จากสถิติการเกิดโรคดังกล่าว การแก้ไขปัญหาของโรคความดันโลหิตสูงต้องมีการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยการคัดกรองโรคเป็นการเฝ้าระวังที่สำคัญ ทำให้ประชาชนได้รู้ภาวะสุขภาพของตนเองนำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพตามข้อมูลของแต่ละบุคคลเมื่อประชาชนเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ.2ส. ในกลุ่มเสี่ยงติดตามวัดความดัน และในกลุ่มป่วยติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพก็จะนำไปสู่สุขภาพที่ดีของประชาชนในตำบลปันแตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน
- 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส
- เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- - กิจกรรมตรวจและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต) - ตรวจภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหัวใจ ไต) ร่วมกับ รพ.ควนขนุน และส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ
- คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
- กิจกรรม สร้างความรอบรู้สงสัยป่วยเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส
- กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ
- คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป
- สร้างความรอบรู้ สงสัยป่วย เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง - ประชาสัมพันธ์สื่อสารความเสี่ยง
- กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ - กิจกรรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเบาหวานและญาติเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง การดูแลตนเอง การใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - สื่อสารความเสี่ยงภาวะอันตราย เช่น เสี่ยงต่อภาว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
778
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,887
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
- ลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ลดอัตราการตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนอายุ 35 ปี ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 95
19.63
95.00
2
เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน
ตัวชี้วัด : -กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ 2ส
-ลดกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
-ลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
19.63
85.00
3
3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีความรอบรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก
3อ 2ส ร้อยละ 90
10.36
90.00
4
เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : - ลดกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
- ลดอัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่
10.36
20.00
5
เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ในการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อน และได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานการดูแลได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจไต มากกว่า
ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจMAU ตามเกณฑ์/ประเมิน CVD RISK มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90
42.91
90.00
6
เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
42.91
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2665
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
778
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,887
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน (2) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส (4) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง (5) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (6) เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - กิจกรรมตรวจและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต) - ตรวจภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหัวใจ ไต) ร่วมกับ รพ.ควนขนุน และส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ (2) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (3) กิจกรรม สร้างความรอบรู้สงสัยป่วยเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส (4) กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ (5) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป (6) สร้างความรอบรู้ สงสัยป่วย เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง - ประชาสัมพันธ์สื่อสารความเสี่ยง (7) กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ - กิจกรรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเบาหวานและญาติเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง การดูแลตนเอง การใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - สื่อสารความเสี่ยงภาวะอันตราย เช่น เสี่ยงต่อภาว
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 ”
หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-05 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3321-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรทั่วโลก ประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคความ ดันโลหิตสูงถึง 7.5 ล้านคน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1 พันล้านคนทั่วโลก คาดว่าในปี 2568 ความชุกของผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้านคน ในประเทศไทย ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ15 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นจาก 10 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 13 ล้านคนในปี 2571และเกือบครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่าตนเองป่วยด้วยโรคนี้ จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากเกือบ 4 ล้านคนในปี 2556 เป็นเกือบ 6 ล้านคนในปี2561จำนวนผู้เสียชีวิต จากโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วย จาก 5,186 คนในปี 2556เป็น 8,525 คน ในปี 2560 ปี 2557 มีการประเมินค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล พบว่าประเทศไทยต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 80,000 ล้านบาทต่อปีต่อจำนวนผู้ป่วยประมาณการ 10 ล้านคน จะเห็นได้ว่าโรคความดันโลหิตสูงยังคงเป็นปัญหา สุขภาพที่สำคัญ สำหรับจังหวัดพัทลุง สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงจากข้อมูล HDC มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เพิ่มขึ้นทุกปี โดย ในปีงบประมาณ 2559 - 2561 จังหวัดพัทลุง มีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ดังนี้ 52,290 คน, 55,955 คน และ6,116 คน และจากสถิติการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชากรกลุ่มอายุ 3๕ปีขึ้นไป ในตำบลปันแต มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ ในปี 2561-2567 จำนวน 1,101.93, 1,023.39,1,202.67,973.55,810.37,997.87,1473.24 อัตราต่อแสนประชากรเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน
ซึ่งจากการดำเนินงานคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ในแต่ละปีพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปีโดยในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาได้ทำการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไป พบว่าร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการติดตามจำนวน 222 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 10.36จากสถิติการเกิดโรคดังกล่าว การแก้ไขปัญหาของโรคความดันโลหิตสูงต้องมีการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยการคัดกรองโรคเป็นการเฝ้าระวังที่สำคัญ ทำให้ประชาชนได้รู้ภาวะสุขภาพของตนเองนำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพตามข้อมูลของแต่ละบุคคลเมื่อประชาชนเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ.2ส. ในกลุ่มเสี่ยงติดตามวัดความดัน และในกลุ่มป่วยติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพก็จะนำไปสู่สุขภาพที่ดีของประชาชนในตำบลปันแตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน
- 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส
- เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- - กิจกรรมตรวจและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต) - ตรวจภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหัวใจ ไต) ร่วมกับ รพ.ควนขนุน และส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ
- คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
- กิจกรรม สร้างความรอบรู้สงสัยป่วยเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส
- กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ
- คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป
- สร้างความรอบรู้ สงสัยป่วย เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง - ประชาสัมพันธ์สื่อสารความเสี่ยง
- กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ - กิจกรรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเบาหวานและญาติเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง การดูแลตนเอง การใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - สื่อสารความเสี่ยงภาวะอันตราย เช่น เสี่ยงต่อภาว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 778 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,887 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
- ลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ลดอัตราการตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนอายุ 35 ปี ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 95 |
19.63 | 95.00 |
|
|
2 | เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน ตัวชี้วัด : -กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ 2ส -ลดกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง -ลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ |
19.63 | 85.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีความรอบรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 90 |
10.36 | 90.00 |
|
|
4 | เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : - ลดกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง - ลดอัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ |
10.36 | 20.00 |
|
|
5 | เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ในการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อน และได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานการดูแลได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจไต มากกว่า ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจMAU ตามเกณฑ์/ประเมิน CVD RISK มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90 |
42.91 | 90.00 |
|
|
6 | เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
42.91 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2665 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 778 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,887 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน (2) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส (4) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง (5) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (6) เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - กิจกรรมตรวจและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต) - ตรวจภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (หัวใจ โรคหัวใจ ไต) ร่วมกับ รพ.ควนขนุน และส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ (2) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (3) กิจกรรม สร้างความรอบรู้สงสัยป่วยเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส (4) กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ (5) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป (6) สร้างความรอบรู้ สงสัยป่วย เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง - ประชาสัมพันธ์สื่อสารความเสี่ยง (7) กิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้โรคความดันโลหิตสูง และการดูแลตัวเองแก่ผู้ป่วยและญาติ - กิจกรรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเบาหวานและญาติเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง การดูแลตนเอง การใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - สื่อสารความเสี่ยงภาวะอันตราย เช่น เสี่ยงต่อภาว
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......