โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข ”
ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอัมราน เบ็ญอิสริยา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข
ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2995-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2995-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีส่งผลให้สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปผู้หญิงเมื่อแต่งงานมีครอบครัวผลที่ตามมาคือการตั้งครรภ์จะโดยพึงประสงค์หรือไม่พึงประสงค์ก็ตามแต่ สภาพสังคมปัจจุบันผู้หญิงได้เข้ามามีบทบาทในการทำงานมากขึ้น ไม่ว่าจะทำงานบ้านและทำงานนอกบ้านควบคู่กับการดูแลครอบครัวไปด้วยทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตัวเอง บางครั้งลักษณะของงานที่ทำบางอย่าง และการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้อง จึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ด้วย ดังนั้นหญิงมีครรภ์ควรต้องรู้จักวิธีการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย การส่งเสริมเรื่องต่างๆ ได้แก่ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกายการดูแลสุขภาพอนามัย การเลือกใช้ยา การประเมินภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และการปฏิบัติตนต่าง ๆ รวมไปถึงการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ การเตรียมตัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลตัวเองหลังคลอด และการดูแลเด็กแรกเกิด เป็นต้น การมีส่วนร่วมของชุมชนให้มีเครือข่ายที่เข้มแข็งได้แก่ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทุกเพศ ทุกวัย และทุกกลุ่มอายุ และอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด เป็นอาสาสมัครที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพอย่างสม่ำเสมอ สามารถให้ความรู้ด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่เพื่อนบ้านได้
จากข้อมูล ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2565 - 2567 พบว่า มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 10.00 ,22.72 และ 4.35 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7) อันเนื่องมาจากภาวะโภชนาการ การได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ พฤติกรรมการบริโภคของหญิงตั้งครรภ์ การทำงาน และการพักผ่อนของหญิงตั้งครรภ์
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง จึงได้จัดทำโครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข ขึ้นเพื่ออบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ หญิงหลังคลอด และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพแม่ลูกหลังคลอด เพื่อให้เด็กที่อยู่ในครรภ์และที่จะเกิดมาในอนาคต ได้รับการดูแลที่ถูกวิธี เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี สร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัว และเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคตบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ และหยิงหลังคลอดได้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
3.เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการสมวัย
4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ในการดูแลหญิงตั้งครรภืและหญิงหลังคลอด จนถึงการประเมินเด็ก 0-5 ปี
5.เพ่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับมารดาหลังคลอดในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มแม่และเด็กได้รับบริการที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพ ส่งผลให้มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และเด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการที่สมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ และหยิงหลังคลอดได้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
3.เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการสมวัย
4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ในการดูแลหญิงตั้งครรภืและหญิงหลังคลอด จนถึงการประเมินเด็ก 0-5 ปี
5.เพ่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับมารดาหลังคลอดในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ และหยิงหลังคลอดได้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
3.เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการสมวัย
4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ในการดูแลหญิงตั้งครรภืและหญิงหลังคลอด จนถึงการประเมินเด็ก 0-5 ปี
5.เพ่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับมารดาหลังคลอดในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2995-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอัมราน เบ็ญอิสริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข ”
ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอัมราน เบ็ญอิสริยา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2995-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2995-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีส่งผลให้สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปผู้หญิงเมื่อแต่งงานมีครอบครัวผลที่ตามมาคือการตั้งครรภ์จะโดยพึงประสงค์หรือไม่พึงประสงค์ก็ตามแต่ สภาพสังคมปัจจุบันผู้หญิงได้เข้ามามีบทบาทในการทำงานมากขึ้น ไม่ว่าจะทำงานบ้านและทำงานนอกบ้านควบคู่กับการดูแลครอบครัวไปด้วยทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตัวเอง บางครั้งลักษณะของงานที่ทำบางอย่าง และการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้อง จึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ด้วย ดังนั้นหญิงมีครรภ์ควรต้องรู้จักวิธีการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย การส่งเสริมเรื่องต่างๆ ได้แก่ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกายการดูแลสุขภาพอนามัย การเลือกใช้ยา การประเมินภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และการปฏิบัติตนต่าง ๆ รวมไปถึงการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ การเตรียมตัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลตัวเองหลังคลอด และการดูแลเด็กแรกเกิด เป็นต้น การมีส่วนร่วมของชุมชนให้มีเครือข่ายที่เข้มแข็งได้แก่ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทุกเพศ ทุกวัย และทุกกลุ่มอายุ และอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด เป็นอาสาสมัครที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพอย่างสม่ำเสมอ สามารถให้ความรู้ด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่เพื่อนบ้านได้
จากข้อมูล ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2565 - 2567 พบว่า มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 10.00 ,22.72 และ 4.35 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7) อันเนื่องมาจากภาวะโภชนาการ การได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ พฤติกรรมการบริโภคของหญิงตั้งครรภ์ การทำงาน และการพักผ่อนของหญิงตั้งครรภ์
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง จึงได้จัดทำโครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข ขึ้นเพื่ออบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ หญิงหลังคลอด และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพแม่ลูกหลังคลอด เพื่อให้เด็กที่อยู่ในครรภ์และที่จะเกิดมาในอนาคต ได้รับการดูแลที่ถูกวิธี เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี สร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัว และเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคตบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ และหยิงหลังคลอดได้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง 3.เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการสมวัย 4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ในการดูแลหญิงตั้งครรภืและหญิงหลังคลอด จนถึงการประเมินเด็ก 0-5 ปี 5.เพ่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับมารดาหลังคลอดในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 80 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มแม่และเด็กได้รับบริการที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพ ส่งผลให้มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และเด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการที่สมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ และหยิงหลังคลอดได้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
3.เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการสมวัย
4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ในการดูแลหญิงตั้งครรภืและหญิงหลังคลอด จนถึงการประเมินเด็ก 0-5 ปี
5.เพ่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับมารดาหลังคลอดในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 80 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หรือสามีหรือญาติ และหยิงหลังคลอดได้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
3.เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตตามวัยและมีพัฒนาการสมวัย
4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ในการดูแลหญิงตั้งครรภืและหญิงหลังคลอด จนถึงการประเมินเด็ก 0-5 ปี
5.เพ่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับมารดาหลังคลอดในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ทุกชีวีมีสุข จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2995-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอัมราน เบ็ญอิสริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......