โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2566 พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.70 เป็นช่วงที่มีฟันถาวรขึ้นครบ 28 ซี่ เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจครั้งที่ 8 พบว่า ความชุกโรคฟันผุลดลง จากร้อยละ 52.00 เป็นร้อยละ 49.70 ผุเฉลี่ย 1.2 ซี่ต่อคน มีสภาวะเหงือกอักเสบ สูงถึงร้อยละ 80.20 สถานการณ์การเกิดโรคฟันผุลดลงทั้งในภาพรวมประเทศ แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในภาคใต้ โดยพบว่ามีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 52.70 ฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 36.60 และได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 34.40 ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยมากกว่าครึ่งหนึ่งมีฟันผุ ซึ่งถ้าไม่ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดี รวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงจนอาจเกิดการสูญเสียฟันถาวรตั้งแต่เด็กได้ แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจพบว่า เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม โดยจากรายงานดังกล่าว พบว่า เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี ร้อยละ 57.80 ไม่เคยแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 57.80 มีพฤติกรรมกินลูกอม สูงถึงร้อยละ 73.60 และมีพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลมากกว่า 2 ครั้งต่อวันขึ้นไปร้อยละ 10.60 กินขนมกรุบกรอบ ร้อยละ 16.10 (แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข, 2568) การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี การส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค จะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ เด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กรับประทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงวัยเรียนเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อขจัดคราบจุลินทรีย์ออกจากตัวฟันเป็นสิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การแปรงฟันเป็นวิธีการนำฟลูออไรด์เข้าไปในตัวฟันทำปฏิกิริยากับผิวฟันทำให้ฟันแข็งแรง สามารถหยุดการผุของฟันในระยะเริ่มต้นได้ (กรมอนามัย, 2566) และเพื่อเป็นการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันฟันผุ รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขลักษณะนิสัยที่ดี โดยพบว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาลดลง แต่ยังพบว่าจังหวัดยะลามีค่าฟันผุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ดังนั้น ปัญหาเด็กฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญของจังหวัดยะลาที่ยังต้องดำเนินการแก้ไข ในปีงบประมาณ 2565 - 2567 มีเด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 16.44, 45.67 และ 56.86 ตามลำดับ เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 26.08, 39.04 และ 55.49 ตามลำดับ (HDC ข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2567)นอกจากนี้จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบว่า ในปีงบประมาณ 2565 – 2567 เด็กอายุ 12 ปี มีฟันผุในฟันแท้ที่ร้อยละ 42.11, 40.63 และ 39.34 ตามลำดับ
งานทันตกรรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมการส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปากในโครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นเด็กชั้นประถมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา โรงเรียนญัณญาวิทย์ และโรงเรียนอิสลาฮียะห์ ซึ่งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก เพื่อให้มีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ได้ฝึกทักษะและแปรงฟันที่ถูกวิธี และทำให้เกิดโรคฟันผุน้อยลงจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุ เหงือกอักเสบในช่องปากและเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพทางช่องปากต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง
- 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถม มีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
302
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้กลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
- เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ
- เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00
2
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถม มีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ตัวชี้วัด : 2. เพื่อติดตามและฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องในเด็กนักเรียนประถม (การแปรงฟันที่ถูกวิธี) หลังรับประทานอาหารกลางวัน ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
302
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
302
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถม มีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2566 พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.70 เป็นช่วงที่มีฟันถาวรขึ้นครบ 28 ซี่ เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจครั้งที่ 8 พบว่า ความชุกโรคฟันผุลดลง จากร้อยละ 52.00 เป็นร้อยละ 49.70 ผุเฉลี่ย 1.2 ซี่ต่อคน มีสภาวะเหงือกอักเสบ สูงถึงร้อยละ 80.20 สถานการณ์การเกิดโรคฟันผุลดลงทั้งในภาพรวมประเทศ แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในภาคใต้ โดยพบว่ามีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 52.70 ฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 36.60 และได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 34.40 ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยมากกว่าครึ่งหนึ่งมีฟันผุ ซึ่งถ้าไม่ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดี รวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงจนอาจเกิดการสูญเสียฟันถาวรตั้งแต่เด็กได้ แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจพบว่า เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม โดยจากรายงานดังกล่าว พบว่า เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี ร้อยละ 57.80 ไม่เคยแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 57.80 มีพฤติกรรมกินลูกอม สูงถึงร้อยละ 73.60 และมีพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลมากกว่า 2 ครั้งต่อวันขึ้นไปร้อยละ 10.60 กินขนมกรุบกรอบ ร้อยละ 16.10 (แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข, 2568) การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี การส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค จะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ เด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กรับประทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงวัยเรียนเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อขจัดคราบจุลินทรีย์ออกจากตัวฟันเป็นสิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การแปรงฟันเป็นวิธีการนำฟลูออไรด์เข้าไปในตัวฟันทำปฏิกิริยากับผิวฟันทำให้ฟันแข็งแรง สามารถหยุดการผุของฟันในระยะเริ่มต้นได้ (กรมอนามัย, 2566) และเพื่อเป็นการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันฟันผุ รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขลักษณะนิสัยที่ดี โดยพบว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาลดลง แต่ยังพบว่าจังหวัดยะลามีค่าฟันผุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ดังนั้น ปัญหาเด็กฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญของจังหวัดยะลาที่ยังต้องดำเนินการแก้ไข ในปีงบประมาณ 2565 - 2567 มีเด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 16.44, 45.67 และ 56.86 ตามลำดับ เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 26.08, 39.04 และ 55.49 ตามลำดับ (HDC ข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2567)นอกจากนี้จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบว่า ในปีงบประมาณ 2565 – 2567 เด็กอายุ 12 ปี มีฟันผุในฟันแท้ที่ร้อยละ 42.11, 40.63 และ 39.34 ตามลำดับ
งานทันตกรรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมการส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปากในโครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นเด็กชั้นประถมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา โรงเรียนญัณญาวิทย์ และโรงเรียนอิสลาฮียะห์ ซึ่งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก เพื่อให้มีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ได้ฝึกทักษะและแปรงฟันที่ถูกวิธี และทำให้เกิดโรคฟันผุน้อยลงจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุ เหงือกอักเสบในช่องปากและเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพทางช่องปากต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง
- 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถม มีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 302 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้กลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
- เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ
- เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถม มีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ตัวชี้วัด : 2. เพื่อติดตามและฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องในเด็กนักเรียนประถม (การแปรงฟันที่ถูกวิธี) หลังรับประทานอาหารกลางวัน ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 302 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 302 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถม มีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการยิ้มอย่างสดใส มั่นใจฟันสวย ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......