กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข ”
ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์




ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข

ที่อยู่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5270-1-01 เลขที่ข้อตกลง 22/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5270-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเพาะปลูก ได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่จะเห็นได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชโดยไม่

ได้คำนึงถึงอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางโดยการสัมผัสทางผิวหนังจากการไม่สวมถุงมือและไม่สวมรองเท้าป้องกันขณะทำงาน การ

สูดหายใจละอองที่ฟุ้งในอากาศ การรับประทานอาหารและน้ำดื่นที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพเกษตรกรทั้งสิ้นการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะ

เป็นพิษและอันตรายต่อสุขภาพ สามารถเกิดอาการแสดงเฉียบพลันตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนระดับรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ นอกจาก

เกษตรกรจะได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแล้วยังมีประชาชนทั่วไปที่บริโภคผักและผลไม้ได้รับสารพิษที่ตกค้างได้ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนครจังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่

ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมปลูกผัก และรับจ้างในการฉีดพ่นและเก็บผลผลิตจากผลการตรวจหาระดับโคลีนเอสเตอเรสในเลือดในปีงบประมาณ 2563 จำนวน 100 คน พบว่า อยู่ใน

ระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย จำนวน 64 ราย คิดเป็นร้อยละ 64.0 ในปีงบประมาณ 2566 มีผู้ตรวจจำนวน 155 คน พบว่า อยู่ในระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย จำนวน 101 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.16

และผู้ที่มีผลเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมาตรวจซ้ำรอบที่ 2 จำนวน 45 ราย เมื่อเข้ารับการอบรมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะอยู่ในระดับปกติ/ปลอดภัย เพิ่มขึ้นที่

จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 40 ส่วนใหญ่ผู้ที่มีผลการตรวจเลือดดีขึ้นจะเป็นกลุ่มที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รับยารางจืดจากโรงพยาบาลสิงหนครและรับประทานยาสมุนไพรรางจืดเอง

ในปีงบประมาณ 2567 มีผู้ตรวจจำนวน 100 คน พบว่าอยู่ในระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย จำนวน 87 ราย คิดเป็นร้อยละ 87 ได้รับการจ่ายยารางจืดทุกคน กลุ่มที่ตรวจนี้ส่วนใหญ่จะเป็นรายใหม่

จะเห็นได้ว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นมาก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขนุน ได้เห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพื่อดูแลสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภคในชุมชน

ประกอบด้วยการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การเจาะเลือดคัดกรองเพื่อสืบค้นความผิดปกติในระยะแรกเริ่ม โดยการจัดซื้อชุดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ซึ่งในปัจจุบันจะไม่ได้รับการสนับสนุน

ชุดตรวจดังกล่าวจากหน่วยงานต้นสังกัด ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรและผู้บริโภคเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การบริโภคอาหารและผักปลอดภัย ตลอดจนการแนะนำ

วิธีการรักษาเบื้องต้นโดยใช้สมุนไพรในการล้างพิษเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มศักยภาพให้แก่ประชาชน เพื่อเป็นผู้นำในการส่งเสริมสุขภาพและส่งผลให้ทุกคนมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
  2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย
  3. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด และมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมความรู้ เกษตรกรและผู้บริโภค
  2. ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรและผู้บริโภค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกรและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  2. ลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเพาะปลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
ตัวชี้วัด : เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
1.00 0.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย
1.00 0.00

 

3 เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด และมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : เกษตรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
1.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ (2) เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย (3) เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด และมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมความรู้ เกษตรกรและผู้บริโภค (2) ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรและผู้บริโภค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5270-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด