โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านชะรัด |
วันที่อนุมัติ | 1 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 26,960.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางชะบา อินทร์เอียด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) | 45.00 | ||
2 | ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ | 45.00 | ||
3 | จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน) | 20.00 | ||
4 | จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น | 20.00 | ||
5 | จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน) | 45.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น |
45.00 | 60.00 |
2 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง |
20.00 | 10.00 |
3 | เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น |
20.00 | 30.00 |
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น |
45.00 | 60.00 |
5 | เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น |
45.00 | 60.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
27 มี.ค. 68 | ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกายสุขภาพจิตและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ | 0 | 12,960.00 | - | ||
8 พ.ค. 68 | สาธิตการออกกำลังกายด้วยท่าฤาษีคัดตน | 0 | 3,000.00 | - | ||
12 พ.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | การออกกำลังกายด้วยฤาษีคัดตนอย่างต่อเนื่อง | 0 | 0.00 | - | ||
2 มิ.ย. 68 | ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 1 | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
12 มิ.ย. 68 | กิจกรรมที่ 4 อบรมลดโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ | 0 | 10,600.00 | - | ||
12 มิ.ย. 68 | เยี่ยมเสริมพลัง | 0 | 0.00 | - | ||
10 ก.ย. 68 | ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 2 | 0 | 400.00 | - | ||
รวม | 0 | 26,960.00 | 1 | 0.00 |
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล และลดลง 2.ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง 3.จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น 4.ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น 5.ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2568 00:00 น.