โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon )
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) ”
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางจิตประไพ ใจเเข็ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon )
ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1490-02-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon )
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1490-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก โดยพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของแม่ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ซึ่งสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งวิถีการดำเนินชีวิตและวิถีวัฒนธรรมขณะที่โครงสร้างของสังคมไทยยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน ส่งผลให้คนไทยซึมซับวัฒนธรรมตะวันตกโดยไม่เลือก จึงทำให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยต้องเผชิญกับวิกฤตเรื่องค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรม มีการเลียนแบบวัฒนธรรมการบริโภคนิยม วัตถุนิยม และการให้ความสำคัญกับเงินตราเป็นตัวตั้ง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีจุดเริ่มต้นจากเมืองหลวงและกระจายตัวไปสู่เมืองใหญ่ และจากเมืองใหญ่ไปสู่ชนบท โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและสื่อทุกแขนงเป็นตัวเชื่อมร้อยให้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤติทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างทั่วถึง
ผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยประสบปัญหาทางสังคมมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชน ปัจจุบันพบว่า เด็กเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือ ประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและขาดความรับผิดชอบตัวเอง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงในด้านต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งมีความไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว กลายเป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่นๆ ตามมาอีกมาก
ปัจจุบันปัญหาเด็กวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและนำไปสู่การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมปรากฏอยู่ทุกภาคของประเทศไทย และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จึงจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (Stop Teen Mom) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียน นักศึกษามีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2.นักเรียน นักศึกษามีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิ
องค์กรมีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพร้อมช่วยเหลือและให้คำปรึกษากับเด็กและเยาวชนที่ประสบปัญหา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1490-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิตประไพ ใจเเข็ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) ”
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางจิตประไพ ใจเเข็ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1490-02-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon )
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1490-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก โดยพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของแม่ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ซึ่งสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งวิถีการดำเนินชีวิตและวิถีวัฒนธรรมขณะที่โครงสร้างของสังคมไทยยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน ส่งผลให้คนไทยซึมซับวัฒนธรรมตะวันตกโดยไม่เลือก จึงทำให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยต้องเผชิญกับวิกฤตเรื่องค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรม มีการเลียนแบบวัฒนธรรมการบริโภคนิยม วัตถุนิยม และการให้ความสำคัญกับเงินตราเป็นตัวตั้ง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีจุดเริ่มต้นจากเมืองหลวงและกระจายตัวไปสู่เมืองใหญ่ และจากเมืองใหญ่ไปสู่ชนบท โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและสื่อทุกแขนงเป็นตัวเชื่อมร้อยให้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤติทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างทั่วถึง
ผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยประสบปัญหาทางสังคมมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชน ปัจจุบันพบว่า เด็กเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือ ประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและขาดความรับผิดชอบตัวเอง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงในด้านต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งมีความไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว กลายเป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่นๆ ตามมาอีกมาก
ปัจจุบันปัญหาเด็กวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและนำไปสู่การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมปรากฏอยู่ทุกภาคของประเทศไทย และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จึงจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (Stop Teen Mom) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียน นักศึกษามีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 2.นักเรียน นักศึกษามีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิ องค์กรมีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพร้อมช่วยเหลือและให้คำปรึกษากับเด็กและเยาวชนที่ประสบปัญหา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1490-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิตประไพ ใจเเข็ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......