กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค หมู่ที่ 1 , 2 , 3 , 4 และ 13 ตำบลพนางตุง
รหัสโครงการ 68-L3323-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนางตุง (เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.ทะเลน้อย)
วันที่อนุมัติ 19 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 1 กันยายน 2568
งบประมาณ 14,496.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางบำเพ็ญ ปิดเมือง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 111 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2070 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้ไทยอยู่ในกลุ่ม 30 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูง การดำเนินงานเพื่อยุติวัณโรคให้ประสบความสำเร็จนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกระดับ สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่ภาคใต้ตอน
71.20
2 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน
5.09

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้ไทยอยู่ในกลุ่ม 30 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูง การดำเนินงานเพื่อยุติวัณโรคให้ประสบความสำเร็จนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกระดับ
สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง หรือเขตสุขภาพที่ 12 คาดประมาณว่า ในปี 2565 จะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำประมาณ 7,400 ราย แต่ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 16 มีนาคม 2565 มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 1,617 ราย สำหรับในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 , 2 , 3 , 4 และ 13 ตำบลพนางตุง ปี 2567 มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 2 ราย (หมู่ที่ 3 กับ 13) คิดเป็น 78.80 ต่อแสนประชากร ซึ่งต่ำกว่าคาดประมาณ 71.20 ต่อแสนประชากร แสดงว่ายังมีผู้ป่วยอีก 2 ราย ที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา และกำลังแพร่เชื้ออยู่ในชุมชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนางตุง หมู่ที่ 1 , 2 , 3 , 4 และ 13 ตำบลพนางตุง (เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.ทะเลน้อย) เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาวัณโรค จึงได้เขียนโครงการเพื่อเร่งค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงวัณโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุก

สามารถค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ตามคาดประมาณการ 150 ต่อแสนประชากร

0.00
2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในชุมชน

อัตราการรักษาหายขาดของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการตรวจคัดกรองวัณโรคเบื้องต้น

ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมตรวจคัดกรองวัณโรคเบื้องต้น ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,496.00 0 0.00
10 มี.ค. 68 อบรมการสัมภาษณ์อาการสงสัยวัณโรค 0 2,610.00 -
24 - 28 มี.ค. 68 เชิญกลุ่มเสี่ยงสูงไปใช้บริการเอกซเรย์ 0 1,055.00 -
1 - 4 เม.ย. 68 เยี่ยมติดตามสัมภาษณ์กลุ่มเสี่ยงสูง 0 1,111.00 -
7 เม.ย. 68 - 30 ม.ค. 68 สัมภาษณ์อาการสงสัยวัณโรค ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ด้วยคำถาม 6 ข้อ 0 9,720.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. พบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ตามคาดประมาณการ 150 ต่อแสนประชากร
  2. อัตราการหายขาดของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 80
  3. ลดการแพร่ระบาดของวัณโรคในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ