กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด ”
สวนสาธารณะพรุจงเปือย ม.4 ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายมูฮะมัดนาเซ มูซอ




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด

ที่อยู่ สวนสาธารณะพรุจงเปือย ม.4 ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2981-2-07 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สวนสาธารณะพรุจงเปือย ม.4 ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ สวนสาธารณะพรุจงเปือย ม.4 ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2981-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่มีปัญหาหลายอย่างที่ตนไม่สามารถแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง ซึ่งบางครั้งอาจจะแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการผิด ๆ คิดวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขได้โดยเริ่มจากการให้ความสำคัญกับพวกเขา ให้พวกเขาได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาวัยรุ่น เด็กและเยาวชนที่มักจะประสบปัญหา ส่วนใหญ่เกิดจากการไม่มีความรู้ในเรื่องของสิ่งที่ถูกหรือผิด ไม่มีคนมาให้ความรู้ให้คำปรึกษาที่ถูกต้อง และชี้แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ปัญหาส่วนใหญ่ที่มักจะตามมา เช่น ติดยาเสพติด ติดเกมส์ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหาความรุนแรงของเด็กและสตรี เป็นต้น เมื่อประสบพบเจอกับปัญหาต่าง ๆ เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่มักปรึกษาเพื่อนเพราะคิดว่าเพื่อน เป็นที่พึ่งให้แก่ตนได้ ซึ่งเป็นความคิดที่ผิด ความจริงแล้วเมื่อเกิดปัญหาคนที่ควรไปขอคำปรึกษามากที่สุด คือ พ่อ แม่ หรือผู้ปกครอง เพราะเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับเรามากที่สุดและสามารถให้คำปรึกษาได้ในทุกเรื่อง ในปัจจุบันสารเสพติดเป็นสิ่งที่ทำลายทรัพยากรบุคคลของชาติ โดยเฉพาะกลุ่มของเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตพร้อมที่จะเป็นกำลังในการพัฒนาประเทศ ผลจากยาเสพติดจะทำลายสมอง ทำลายชีวิต ทำลายอนาคต จนไปถึงการทำร้ายร่างกายบุคคลใกล้ชิด แม้กระทั่งบุพการี และปัญหาที่ตามมาหลาย ๆ อย่าง เช่น การข่มขืน และทารุณกรรมทางด้านจิตใจ ทำให้เสื่อมเสียทั้งญาติ พี่น้อง ผู้ปกครอง และวงศ์ตระกูล ดังนั้นเราจึงควรมีวิธีป้องกันในกลุ่มเด็กและเยาวชนให้พ้นภัยจากสารเสพติด การปฏิเสธเป็นทักษะหนึ่งที่สามารถป้องกันตนเองได้หากเรารู้และมีสติ เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์เสี่ยงต่อการเสพยาเสพติด วัยรุ่นทั้งชายและหญิงมีความหลากหลายทางความคิด พื้นฐานทางครอบครัว การอบรมเลี้ยงดูและอุปนิสัยใจคอ ซึ่งบางคนเป็นเด็กตั้งใจเรียน บางคนเป็นเด็กเที่ยว ซึ่งทั้งหมดล้วนทำให้มีประสบการณ์ชีวิตเกี่ยวกับเรื่องมุมมองของการใช้ชีวิตในช่วงวัยรุ่นต่อไป ทางชมรมอิหม่ามตำบลนาประดู่ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น โดยให้เด็กและเยาวชนในชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ และร่วมมือจัดการ ป้องกันพฤติกรรมของกลุ่มเด็กและเยาวชนให้มีทิศทางและปรับพฤติกรรมให้เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งเสริมสุขภาพเยาวชนในชุมชนในการป้องกัน ยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางการป้องกันการใช้สารเสพติด/โรคติดต่อในการเสพยาร่วมกัน และเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเด็กให้แสดงความคิดเห็นออกเป็นกลุ่ม ๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด

  2. เยาวชนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และไม่มั่วสุมกันทดลอง

  3. ชุมชนมีความตื่นตัวในการส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
70.00 70.00

 

2 เพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เยาวชนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และไม่มั่วสุมกันทดลอง
70.00 70.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งเสริมสุขภาพเยาวชนในชุมชนในการป้องกัน ยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความตื่นตัวในการส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว
70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งเสริมสุขภาพเยาวชนในชุมชนในการป้องกัน ยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางการป้องกันการใช้สารเสพติด/โรคติดต่อในการเสพยาร่วมกัน และเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเด็กให้แสดงความคิดเห็นออกเป็นกลุ่ม ๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2981-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮะมัดนาเซ มูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด