โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายถวิล ทองนวล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง
ตุลาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-03-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3323-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 230,796.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากปัจจัยการลดลงของอัตราการเกิดและอายุเฉลี่ยของประชากรยืนยาวขึ้น จึงทำให้เกิดอัตราการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นตามมาด้วย การที่สังคมก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุนั้น มีผลกระทบโดยรวมโดยเฉพาะด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ ทำให้เกิดภาวะพึ่งพิงเนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะร่างกายและสุขภาพที่เสื่อมลง และสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งคือด้านจิตใจ การพบปะผู้คนก็น้อยลงทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว้าเหว่มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะจิตใจที่รุนแรงได้ ผู้สูงอายุถือเป็นปูชนียบุคคลที่มีคุณค่ายิ่งในสังคม เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามากและเคยเป็นกำลังสำคัญในชุมชนที่มีความรู้และทักษะและได้ทำคุณประโยชน์ให้กับชุมชนมาอย่างมากมาย แต่จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและปัญหาทางด้านสุขภาพร่างกายที่ถดถอยไปตามวัย ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลง และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดและขาดการมีสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกในชุมชนและขาดการเฝ้าระวังและติดตามประเมินโรคที่เกิดจากความถดถอยทางด้านร่างกาย รวมทั้งไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิตทั้งจากผู้ดูแลและแกนนำทางด้านสุขภาพในชุมชนจะส่งผลเสียต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุได้ ดังนั้น โครงการฯดังกล่าวจึงจัดขึ้นภายใต้วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นการสร้างเสริมทางด้านสุขภาพกายและใจ โดยหวังให้ผู้สูงอายุได้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านสุขภาพ และได้นำความรู้ด้านการดูแลสุขภาพไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพลดภาวะพึ่งพิงลง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย)
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทางกาย
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพให้ถูกวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม "อาหารเป็นยา"
- ประชุมชี้แจงที่มา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
- กิจกรรมเรียนรู้กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- กิจกรรม "ขยับกายสบายชีวี"
- กิจกรรม "พักกาย พักจิต ด้วยสายชั้น(ปิ่นโต) ในวันพระ"
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ ความสามารถ และประสบการณ์ผู้สูงอายุแบบอย่าง ที่ใช้ชีวิตย่างเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (ปิดโครงการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์และสามารถดูแลตนเองได้
- ศูนย์พัฒนาฯผู้สูงอายุมีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย (ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) ไม่มีภาวะซึมเศร้า
35.00
0.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกาย (ออกกำลังกาย) อย่างเพียงพอ (150 นาที/สัปดาห์)
35.00
0.00
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
35.00
0.00
4
เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพให้ถูกวัย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) ได้แลกเปลี่ยนรู้นอกพื้นที่
35.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทางกาย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพให้ถูกวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม "อาหารเป็นยา" (2) ประชุมชี้แจงที่มา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง (3) กิจกรรมเรียนรู้กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับช่วงวัย (4) กิจกรรม "ขยับกายสบายชีวี" (5) กิจกรรม "พักกาย พักจิต ด้วยสายชั้น(ปิ่นโต) ในวันพระ" (6) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ ความสามารถ และประสบการณ์ผู้สูงอายุแบบอย่าง ที่ใช้ชีวิตย่างเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (7) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (ปิดโครงการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายถวิล ทองนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายถวิล ทองนวล
ตุลาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-03-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3323-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 230,796.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากปัจจัยการลดลงของอัตราการเกิดและอายุเฉลี่ยของประชากรยืนยาวขึ้น จึงทำให้เกิดอัตราการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นตามมาด้วย การที่สังคมก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุนั้น มีผลกระทบโดยรวมโดยเฉพาะด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ ทำให้เกิดภาวะพึ่งพิงเนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะร่างกายและสุขภาพที่เสื่อมลง และสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งคือด้านจิตใจ การพบปะผู้คนก็น้อยลงทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว้าเหว่มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะจิตใจที่รุนแรงได้ ผู้สูงอายุถือเป็นปูชนียบุคคลที่มีคุณค่ายิ่งในสังคม เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามากและเคยเป็นกำลังสำคัญในชุมชนที่มีความรู้และทักษะและได้ทำคุณประโยชน์ให้กับชุมชนมาอย่างมากมาย แต่จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและปัญหาทางด้านสุขภาพร่างกายที่ถดถอยไปตามวัย ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลง และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดและขาดการมีสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกในชุมชนและขาดการเฝ้าระวังและติดตามประเมินโรคที่เกิดจากความถดถอยทางด้านร่างกาย รวมทั้งไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิตทั้งจากผู้ดูแลและแกนนำทางด้านสุขภาพในชุมชนจะส่งผลเสียต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุได้ ดังนั้น โครงการฯดังกล่าวจึงจัดขึ้นภายใต้วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นการสร้างเสริมทางด้านสุขภาพกายและใจ โดยหวังให้ผู้สูงอายุได้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านสุขภาพ และได้นำความรู้ด้านการดูแลสุขภาพไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพลดภาวะพึ่งพิงลง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย)
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทางกาย
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพให้ถูกวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม "อาหารเป็นยา"
- ประชุมชี้แจงที่มา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
- กิจกรรมเรียนรู้กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- กิจกรรม "ขยับกายสบายชีวี"
- กิจกรรม "พักกาย พักจิต ด้วยสายชั้น(ปิ่นโต) ในวันพระ"
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ ความสามารถ และประสบการณ์ผู้สูงอายุแบบอย่าง ที่ใช้ชีวิตย่างเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (ปิดโครงการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์และสามารถดูแลตนเองได้
- ศูนย์พัฒนาฯผู้สูงอายุมีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย (ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) ไม่มีภาวะซึมเศร้า |
35.00 | 0.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทางกาย ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกาย (ออกกำลังกาย) อย่างเพียงพอ (150 นาที/สัปดาห์) |
35.00 | 0.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย |
35.00 | 0.00 |
|
|
4 | เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพให้ถูกวัย ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) ได้แลกเปลี่ยนรู้นอกพื้นที่ |
35.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทางกาย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (กลุ่มเป้าหมาย) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพให้ถูกวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม "อาหารเป็นยา" (2) ประชุมชี้แจงที่มา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง (3) กิจกรรมเรียนรู้กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับช่วงวัย (4) กิจกรรม "ขยับกายสบายชีวี" (5) กิจกรรม "พักกาย พักจิต ด้วยสายชั้น(ปิ่นโต) ในวันพระ" (6) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ ความสามารถ และประสบการณ์ผู้สูงอายุแบบอย่าง ที่ใช้ชีวิตย่างเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (7) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (ปิดโครงการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยตำบลพนางตุง ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายถวิล ทองนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......