กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื่อจากศพผู้เสียชีวิต ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางยีร๊ะ เจ๊ะแว




ชื่อโครงการ โครงการการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื่อจากศพผู้เสียชีวิต

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2997-02-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มกราคม 2568 ถึง 28 มกราคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื่อจากศพผู้เสียชีวิต จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื่อจากศพผู้เสียชีวิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื่อจากศพผู้เสียชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2997-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มกราคม 2568 - 28 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการอิสลามมีความเชื่อว่าพระเจ้า (อัลลอฮ์) เป็นผู้สร้างมนุษย์ขึ้นในโลก โดยกำหนดเวลาเกิด เวลาตายไว้ให้แล้ว สัจธรรมข้อหนึ่งที่ทุกคนรู้ดี คือ “ทุกชีวิตต้องลิ้มรสความตาย” แต่ในศาสนาอิสลามนั้น ความตายมิได้เป็นการสิ้นสุดหรือจุดสุดท้ายของชีวิต หากเป็นจุดเริ่มต้นที่จะก้าวไปสู่ชีวิตที่แท้จริงอันเป็นนิรันดร์ อิสลามถือว่าชีวิตในโลกนี้คือการเตรียมตัวสำหรับชีวิตในโลกหน้าอันถาวร ชาวมุสลิมเชื่อว่า เมื่อมนุษย์เสียชีวิตลง วิญญาณของทุกคนจะไปรวมตัวกันอยู่ในโลกหนึ่งที่เรียกว่า “อาลัมบัรซัค” อันเป็นโลกที่คั่นกลางระหว่างโลกนี้กับโลกหน้า ไม่ว่าพวกเขาจะได้รับการฝังอย่างถูกต้องหรือไม่ก็ตาม จนกระทั่งวันแห่งการสิ้นโลกมาถึง ทุกชีวิตจะถูกทำให้ฟื้นขึ้น เพื่อรอรับการตัดสินการกระทำต่างๆ ที่เขากระทำไว้ขณะมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ ความตายจึงไม่ใช่การสิ้นสุดชีวิต แต่เป็นการย้ายชีวิตจากโลกนี้ไปยังโลกหน้าที่สุขสบายกว่า ยั่งยืนกว่า ศาสนาอิสลามจึงสอนให้มนุษย์ระลึกถึงความตายอยู่เสมอจะได้ไม่กระทำความชั่ว ให้กระทำแต่ความดีและอดทนต่อความทุกข์ ความเจ็บป่วยที่ผ่านเข้ามา เพราะนั่นเป็นเพียงบททดสอบถึงความศรัทธา ที่มีต่อ พระเจ้า ผู้ที่ท้อแท้ สิ้นหวังกับชีวิตพึงระลึกไว้เสมอว่าพระเจ้าเป็นที่พึ่ง และทรงมีเมตตาให้อภัยมนุษย์เสมอ ดังนั้น มนุษย์จึงควรทำความดีเพื่อจะได้ใช้ชีวิตในโลกหน้าอย่างมีความสุข เมื่อมุสลิมคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต ญาติหรือผู้เกี่ยวข้องจะต้องอาบน้ำ ห่อศพ ละหมาดขอพรและฝังศพที่สุสาน (กุโบร์) โดยต้องรีบจัดการให้เสร็จภายในเวลา ๒๔ ชั่วโมง โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ 4 ขั้นตอน คือ 1. อาบน้ำให้คนตาย 2. การกะฝั่น(ห่อศพ)  3. การละหมาดให้คนตาย และ 4. การฝังศพในกุโบร์ ซึ่งขั้นตอนการอาบน้ำศพ (การอาบน้ำญะนาซะฮ) และห่อศพผู้เสียชีวิตนั้น จะทำ กันที่บ้านของผู้เสียชีวิต และผู้ที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการศพ การอาบน้ำศพนั้น โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเอง หรือญาติสนิท และโดยส่วนใหญ่ผู้ที่ปฏิบัติมักจะไม่มีการป้องกันอย่างถูกต้องตามหลักสุขลักษณะ เช่น ไม่มีการสวมถุงมือยาง  ไม่มีการสวมผ้าปิดปาก เนื่องจากผู้เสียชีวิตมีทั้งเสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บ เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ และอื่นๆ ซึ่งอาจทำให้เกิดการติดเชื้อหรือแพร่กระจายเชื้อไปยังผู้ที่ทำการอาบน้ำศพได้ เป็นต้น
    จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าว สภาเด็กและเยาวชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ จึงได้เล็งเห็นปัญหาสำคัญนี้ จึงได้จัดโครงการการจัดการศพป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางศาสนาอิสลาม เพื่อให้ผู้ทำหน้าที่ในการจัดการศพ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ การห่อศพ การจัดการศพที่ถูกต้องตามหลักการสุขลักษณะและตามหลักศาสนาอิสลามลดการแพร่เชื้อที่อาจเกิดขึ้นแก่ผู้ทำหน้าที่ในการจัดการศพรวมทั้งให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อต่างๆ ในการจัดการศพ และวิธีการป้องกันที่ถูกต้องตามสุขลักษณะและหลักการศาสนาอิสลามต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    .      1. ผู้นำศาสนา และประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื้อ 2. ประชาชนสามารถปฏิบัติจัดการศพ และตระหนักถึงการป้องกันตนเองเพื่อให้ห่างไกลจากการติดเชื้อได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการจัดการศพเพื่อป้องกันการติดเชื่อจากศพผู้เสียชีวิต จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L2997-02-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางยีร๊ะ เจ๊ะแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด