โครงการลดเสี่ยง ลดโรค
ชื่อโครงการ | โครงการลดเสี่ยง ลดโรค |
รหัสโครงการ | 68/l3327-01-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านท่าเชียด |
วันที่อนุมัติ | 19 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 10,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสุชาดา โสดแก้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 90.00 | ||
2 | ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง | 90.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการใช้ชีวิตประจำวัน มีการดำเนินโรคไปอย่างช้า ทำให้ป่วยยเองไม่รู้ตัวจนเกิดความผิดปกติ ในระบบต่างๆ ของร่างกาย และเป็นสาเหตุสำคัญการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรค NCDs ถึง 81 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 74 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรโลก และมากกว่าร้อยละ 70 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดในประเทศ ปัจจัยหลักมาจากการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ชอบทานอาหารที่มีรสจัด หวาน มัน และเค็มเป็นประจำ การมีภาวะเครียด และมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ นอกจากนั้นยังมีผลจากปัจจัยด้านสังคม เช่น การขยายตัวของสังคม กลยุทธ์ทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป สิ่งเหล่านี้จึงส่งผลถึงพฤติกรรมใช้ชีวิตของผู้คนเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อที่สำคัญเพิ่มขึ้น อาทิ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดี สามารถป้องกันกลุ่มโรค NCDs โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรค และลดโรคที่จะเกิดขึ้น โดยหันมาดูแลสุขภาพร่างกาย การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เลี่ยงอาหารหวาน มัน เค็ม และอาหารแปรรูป พักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ และหมั่นตรวจสุขภาพเป็นประจำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าเชียด ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดครองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น ส่งเสริม ให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์และการผ่อนคลายความเครียด ให้ผู้ผ่านการคัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น |
90.00 | 90.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์และการผ่อนคลายความเครียด กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์และการผ่อนคลายความเครียด ได้ |
90.00 | 90.00 |
3 | เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการคัดกรองสุขภาพและพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง ผู้ที่ผ่านการคัดกรองสุขภาพและพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง |
90.00 | 90.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์และการผ่อนคลายความเครียด | 0 | 10,800.00 | - | ||
รวม | 0 | 10,800.00 | 0 | 0.00 |
- ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น
- กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์และการผ่อนคลายความเครียดได้
- ผู้ที่ผ่านการคัดกรองสุขภาพและพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ม.ค. 2568 00:00 น.