กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ”
ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวโชติมา เมืองพิล




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5187-01-01 เลขที่ข้อตกลง 6/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5187-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางระหว่างตั้งครรภ์ หมายถึง สตรีตั้งครรภ์มีความเข้มข้นของเลือดต่ำกว่าเกณฑ์ปกติเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่พบได้บ่อยที่สุดในระหว่างตั้งครรภ์ สาเหตุที่พบบ่อยมากที่สุด มักเกิดจากการขาดสารอาหารที่จำเป็น โดยเฉพาะธาตุเหล็กเนื่องจากธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง ส่งผลกระทบระหว่างการตั้งครรภ์ของมารดา ได้แก่ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด อาจมีการเสียเลือดระหว่างคลอด นำไปสู่ภาวะช็อค และเสียชีวิตได้ มีการติดเชื้อได้ง่ายและกระทบต่อทารกส่งผลต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของทารกในครรภ์ ทำให้ทารกเติบโตช้า คลอดก่อนกำหนด และน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จากการศึกษาพบว่าการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์มีผลต่อความสามารถของสมองเด็กในการจดจำ และเรียนรู้สิ่งต่างๆตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยเรียน มีรายงานว่าคุณแม่ที่ขาดธาตุเหล็กตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ จะมีโอกาสทำให้เด็กที่คลอดออกมาเป็นออทิสติกสูงขึ้น และหากขาดธาตุเหล็กในช่วงไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์ก็จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคจิตเภทในบุตรถึง 30 % นอกจากนี้ ยังเกี่ยวพันถึงปัญหาทางอารมณ์เมื่อเด็กเติบโตขึ้น เช่น ภาวะซึมเศร้า และวิตกกังวลอีกด้วย
  จากการรวบรวมข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ ที่มารับบริการฝากครรภ์ที่ รพ.สต.สะพานไม้แก่น ต.สะพานไม้แก่น อ.จะนะ จ.สงขลา ในปีงบประมาณ 2567ที่ผ่านมาพบว่า มีหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 34.62 และมีทารกที่คลอดน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 13.16 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ต.สะพานไม้แก่น อ.จะนะ จ.สงขลา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ การฝากครรภ์ในพื้นที่ มีค่าระดับความเข้มข้นของเลือด มากกว่า 33 %
  2. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2500 กรัม
  3. เพื่อป้องกันอัตราการเกิดไร้ชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และการดูแลทารกแรกคลอด
  2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
  3. กิจกรรมตรวจความเข้มข้นเลือดของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ที่มีความเข้มข้นเลือดต่ำกว่า 33 %

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะ HCT ไม่ต่ำกว่า 33 % 2.ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2500 กรัม 3.อสม.สามารถแนะนำการรับประทานอาหารที่ส่งเสริมภาวะโภชนาการให้แก่หญิงตั้งครรภ์ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ การฝากครรภ์ในพื้นที่ มีค่าระดับความเข้มข้นของเลือด มากกว่า 33 %
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเข้มข้นเลือด 33 %
70.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2500 กรัม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของทารกที่มีน้ำหนัก 2500 กรัมขึ้นไป
80.00

 

3 เพื่อป้องกันอัตราการเกิดไร้ชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเกิดไร้ชีพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ การฝากครรภ์ในพื้นที่ มีค่าระดับความเข้มข้นของเลือด มากกว่า 33 % (2) เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2500 กรัม (3) เพื่อป้องกันอัตราการเกิดไร้ชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และการดูแลทารกแรกคลอด (2) กิจกรรมติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด (3) กิจกรรมตรวจความเข้มข้นเลือดของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ที่มีความเข้มข้นเลือดต่ำกว่า 33 %

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5187-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโชติมา เมืองพิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด