กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568 ”
พื้นที่หมู่ที่ 1, 3, 5, 6, 8, 9 และ 11 ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ์ ทวีโชติ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ พื้นที่หมู่ที่ 1, 3, 5, 6, 8, 9 และ 11 ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ L3363-2568-1008 เลขที่ข้อตกลง 014/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่หมู่ที่ 1, 3, 5, 6, 8, 9 และ 11 ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่หมู่ที่ 1, 3, 5, 6, 8, 9 และ 11 ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2568-1008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล หรือสถานการณ์ปัญหา
การพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง มีสติปัญญาที่ดี มีความสามารถในการเรียนรู้ มีศักยภาพในการทำงาน เป็นสิ่งสำคัญอันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งอาหารที่บริโภคเป็นจุดเริ่มต้นของการเสริมสร้าง ชีวิต โภชนาการเป็นจุดเชื่อมระหว่างอาหารและสุขภาพ เป็นพื้นฐานของการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการ การส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการควรเริ่มตั้งแต่ในวัยเริ่มแรกของชีวิต หรือที่เรียกว่า "เด็กปฐมวัย" คือ วัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุก่อน๖ ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นระยะที่สำคัญที่สุดของชีวิต ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์สังคม บุคลิกภาพโดยเฉพาะ ด้านสติปัญญาจะเจริญมากที่สุดในช่วงนี้และพัฒนาการใดๆ ในวัยนี้จะเป็นพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อพัฒนาการในช่วงอื่นๆของชีวิตเป็นอย่างมาก

การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วงอายุ 5 ปี เป็นช่วงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมากเป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ภาวะโภชนาการของเด็กเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก เมื่อเด็กได้รับอาหารอย่างเพียงพอ ไม่เจ็บป่วยบ่อยๆ และได้รับการดูแลอย่างดี เด็กจะมีการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนและถือว่าได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี อาหารและโภชนาการในเด็กปฐมวัยจึงเป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว

จากข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) พบว่าร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลียที่อายุ 5 ปี เกณฑ์เป้าหมาย ปี 2565-2567 ร้อยละ 62, 64 และ 66 ตามลำดับ ซึ่งผลจากการประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ปัญญานันทภิกขุ) ปี 2565-2567 ร้อยละ 51.33, 60.92 และ 63.45 ตามลำดับซึ่งพบว่ามีภาวะโภชนาการไม่ผ่านเกณฑ์

ภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยนี้ส่งผลต่อพัฒนาการระดับสิปัญญา และความสามารถในการเรียนรู้ ดังนั้นการประเมินภาวะโภชนาการในเด็กเป็นการเฝ้าระวังและแก้ไข่ในกณีมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้อย่างทันท่วงที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) โดยกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเพื่อติดตาม ส่งเสริม ประเมินสุขภาพเด็กปฐมวัยให้มีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินติดตามและส่งเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95
  2. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการติดตามดูแล ร้อยละ 100
  3. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินติดตามภาวะโภชนาการเด็ก
  2. ให้ความรู้รายบุคคลแก่ผู้ปกครองเรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
  3. ประเมินติดตามภาวะโภชนาการเด็กในชุมชน
  4. ให้ความรู้รายบุคคลแก่ผู้ปกครองเรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 155
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมิน ติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่องโดย อสม.
  2. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการได้รับการดูแลติดตาม/แก้ไขปัญหา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินติดตามและส่งเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการติดตามดูแล ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 155
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 155
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินติดตามและส่งเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95 (2) เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการติดตามดูแล ร้อยละ 100 (3) ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินติดตามภาวะโภชนาการเด็ก (2) ให้ความรู้รายบุคคลแก่ผู้ปกครองเรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (3) ประเมินติดตามภาวะโภชนาการเด็กในชุมชน (4) ให้ความรู้รายบุคคลแก่ผู้ปกครองเรื่องการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ L3363-2568-1008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ์ ทวีโชติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด