โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางนิธิวดี เก้าเอี้ยน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1483-01-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1483-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2567 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 81,052 ราย อัตราป่วย 124.86 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 63 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.09 เขตสุขภาพที่ 12 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 9,922 ราย อัตราป่วย 199.70 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.14 ต่อแสนประชากร จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 975 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 153.21 ต่อแสนประชากร อำเภอปะเหลียน มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น 191 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 301.75 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 0 ราย และตำบลบางด้วน พบผู้ป่วยเพศชาย 3 ราย เพศหญิง 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 268.82 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 0 ราย
ทั้งนี้ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มีขังน้ำตามภาชนะต่างๆ เช่น ฝาขวด แก้วพลาสติก ถุงพลาสติก เศษกระถาง ซึ่งเป็นที่ที่ยุงลายชอบวางไข่ ไข่ของยุงลาย จะยึดติดแน่นกับของผิวภาชนะเหนือระดับน้ำเล็กน้อย สามารถอยู่ได้นานเป็นปี เมื่อมีน้ำท่วมถึงสามารถ ฟักตัวเป็นระยะ ตัวเต็มวัยในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ และเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น ยุงลายตัวเต็มวัยจะออกหา กินในช่วงกลางคืนมากขึ้น ประชาชนควรป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด และไม่ให้ยุงเกิด ด้วยวิธีนอนในมุ้ง ติดมุ้งลวด ใส่เสื้อผ้ามิดชิด ทาโลชั่นกันยุง ใช้ยาจุดกันยุง ปฏิบัติตามหลัก 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เก็บบ้าน ให้ปลอดโปร่งไม่ให้ยุงลายเกาะพัก จัดเก็บเสื้อผ้าใส่ตู้ให้เป็นระเบียบ เก็บขยะ เศษภาชนะ ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ เศษภาชนะวัสดุที่ทิ้งไว้รอบบ้าน เช่น กะลา กระป๋อง ถุงพลาสติก ควรเก็บทิ้งหรือถมดินไม่ให้น้ำขัง ยางรถยนต์เก่าสามารถดัดแปลงนำมาใช้ประโยชน์ และเก็บแหล่งน้ำ ปิดให้มิดชิด เปลี่ยนถ่ายน้ำทุกสัปดาห์ไม่ให้ยุงลายวางไข่ ภาชนะขังน้ำขนาดเล็กหมั่นเปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้สด หิ้งบูชาพระ ศาลพระภูมิ ขวดเลี้ยงพลูด่าง ไม้ประดับ ใส่ทรายธรรมดาในจานรองกระถางต้นไม้ให้ดูดซับน้ำ เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อเป็นการสื่อสารให้ประชาชนเห็นความสำคัญที่จะต้องช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณที่พักอาศัยและในชุมชนของตนเอง ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จึงจะสามารถแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
72
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน
- ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน
2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
72
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
72
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1483-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิธิวดี เก้าเอี้ยน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางนิธิวดี เก้าเอี้ยน
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1483-01-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1483-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2567 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 81,052 ราย อัตราป่วย 124.86 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 63 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.09 เขตสุขภาพที่ 12 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 9,922 ราย อัตราป่วย 199.70 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.14 ต่อแสนประชากร จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 975 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 153.21 ต่อแสนประชากร อำเภอปะเหลียน มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น 191 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 301.75 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 0 ราย และตำบลบางด้วน พบผู้ป่วยเพศชาย 3 ราย เพศหญิง 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 268.82 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 0 ราย
ทั้งนี้ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มีขังน้ำตามภาชนะต่างๆ เช่น ฝาขวด แก้วพลาสติก ถุงพลาสติก เศษกระถาง ซึ่งเป็นที่ที่ยุงลายชอบวางไข่ ไข่ของยุงลาย จะยึดติดแน่นกับของผิวภาชนะเหนือระดับน้ำเล็กน้อย สามารถอยู่ได้นานเป็นปี เมื่อมีน้ำท่วมถึงสามารถ ฟักตัวเป็นระยะ ตัวเต็มวัยในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ และเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น ยุงลายตัวเต็มวัยจะออกหา กินในช่วงกลางคืนมากขึ้น ประชาชนควรป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด และไม่ให้ยุงเกิด ด้วยวิธีนอนในมุ้ง ติดมุ้งลวด ใส่เสื้อผ้ามิดชิด ทาโลชั่นกันยุง ใช้ยาจุดกันยุง ปฏิบัติตามหลัก 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เก็บบ้าน ให้ปลอดโปร่งไม่ให้ยุงลายเกาะพัก จัดเก็บเสื้อผ้าใส่ตู้ให้เป็นระเบียบ เก็บขยะ เศษภาชนะ ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ เศษภาชนะวัสดุที่ทิ้งไว้รอบบ้าน เช่น กะลา กระป๋อง ถุงพลาสติก ควรเก็บทิ้งหรือถมดินไม่ให้น้ำขัง ยางรถยนต์เก่าสามารถดัดแปลงนำมาใช้ประโยชน์ และเก็บแหล่งน้ำ ปิดให้มิดชิด เปลี่ยนถ่ายน้ำทุกสัปดาห์ไม่ให้ยุงลายวางไข่ ภาชนะขังน้ำขนาดเล็กหมั่นเปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้สด หิ้งบูชาพระ ศาลพระภูมิ ขวดเลี้ยงพลูด่าง ไม้ประดับ ใส่ทรายธรรมดาในจานรองกระถางต้นไม้ให้ดูดซับน้ำ เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อเป็นการสื่อสารให้ประชาชนเห็นความสำคัญที่จะต้องช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณที่พักอาศัยและในชุมชนของตนเอง ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จึงจะสามารถแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 72 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน
- ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 72 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 72 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1483-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิธิวดี เก้าเอี้ยน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......